แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration) คือภาวะเรื้อรังที่นาไปสู่การสูญเสียการมองเห็นมีสาเหตุจากการเสื่อมในส่วนกลางของจอประสาทตาซึ่งเป็นบริเวณที่รับภาพได้ชัดเจน พบได้มากเมื่ออายุมากขึ้นโดยช่วงแรกจะไม่แสดงอาการใดๆปรากฏให้เห็นและการดาเนินของโรคจะเป็นไปอย่างช้าๆ จึงแนะนาให้บุคคลที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป ควรตรวจตาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่งโรคจอประสาทตาเสื่อมเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น อายุที่เพิ่มขึ้น การสูบบุหรี่ โรคอ้วน แสงแดด การที่
ร่างกายขาดสารอาหาร เช่น วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี สังกะสี ลูทีน กรดไขมันชนิดโอเมก้า 3 และปัจจัยทางพันธุกรรม
❖ จอประสาทตาเสื่อมแบบแห้ง (dry macular degeneration) มีลักษณะของจอประสาทตาที่บางลง บริเวณศูนย์กลางจอประสาทตาเริ่มเสื่อมลง ตรวจพบว่ามีจุดสีเหลืองบริเวณจอรับภาพตรงกลางของจอประสาทตา ที่ชื่อว่า drusen อยู่ใต้ผนังชั้นนอกสุดของจอ สามารถทาลายเซลล์รับแสงได้ มักไม่แสดงอาการของโรคปรากฏให้เห็น อาจส่งผลให้ความสามารถในการมองเห็นลดลงอย่างช้าๆ เห็นภาพบิดเบี้ยว มองภาพไม่ชัด ต้องใช้แสงในการมองมากกว่าปกติและอาจมีการดาเนินของโรคไปเป็นจอประสาทตาเสื่อมแบบเปียกได้
❖ จอประสาทตาเสื่อมแบบเปียก (wet macular degeneration) พบในผู้ป่วยโรคจอประสาทตาเสื่อม 10-15% การดาเนินของโรคจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว อาจทาให้สูญเสียความสามารถในการมองเห็นอย่างเฉียบพลันและรุนแรง เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ตาบอด พบว่าเกิดจากการที่เซลล์จประสาทตาเสื่อม บางลงและมีหลอดเลือดผิดปกติที่งอกขึ้นใหม่ในผนังลูกตาชั้นกลาง ส่งผลให้ของเหลวในหลอดเลือดรั่วไหลไปโดนจุดรับภาพ ทาให้ผู้ป่วยมีการมองเห็นภาพบิดเบี้ยวไป หรือเกิดจุดทึบกลางภาพที่มองเห็นส่งผลให้เห็นเป็นเงาดาบริเวณกึ่งกลางภาพที่มองเห็น
อาการจอประสาทเสื่อมชนิดแห้ง อาการในช่วงแรก ผู้ป่วยอาจมองเห็นภาพเบลอและจุดดำหรือจุดบอดตรงกลางภาพ เมื่อเวลาผ่านไป จุดดำในภาพจะเริ่มขยายใหญ่ซึ่งส่งผลต่อการมองเห็น ทำให้อ่านหนังสือลำบากหรือมองเห็นรายละเอียดไม่ชัด
อาการจอประสาทเสื่อมชนิดเปียก ทำให้ผู้ป่วยมองเห็นภาพบิดเบี้ยว พร่ามัว เห็นจุดดำขนาดใหญ่ในภาพซึ่งเป็นผลมาจากการที่เลือดไหลไปอยู่ในจุดรับภาพ
อาการโดยทั่วไปที่เหมือนกันของโรคจอประสาทตาเสื่อมทั้ง 2 ประเภท มีดังนี้
▶ มองภาพบิดเบี้ยว
▶ มองในที่สว่างไม่ชัด หรือแพ้แสง
▶ ปรับสายตาจากการมองเห็นในที่มืดมาที่สว่างไม่ค่อยได้
▶ สูญเสียความสามารถในการมองเห็น ตามัว มีจุดดำหรือเงาบังอยู่ตรงกลางภาพ
▶ เห็นสีผิดเพี้ยน
❖ อายุที่มากขึ้น สามารถพบได้ในคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปี ขึ้นไป
❖ ผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ ควรได้รับการตรวจเช็คจอประสาทตาทุก 1 ปี
❖ การสูบบุหรี่ จึงควรงดหรือเลิกสูบบุหรี่
❖ ความเครียด
❖ มองหน้าจอโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตหรือคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ควรทานลูทีน (lutein) หรือซีแซนธิน (zeaxanthin) เสริมควบคู่กับการสวมแว่นกรองแสงสีฟ้าขณะใช้อุปกรณ์
❖ การอักเสบหรืออุบัติเหตุที่ส่งผลกระทบต่อดวงตา
❖ ภาวะความดันโลหิตสูง รวมทั้งผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยาลดความดันโลหิตและมีระดับคลอเลสเตอรอลในเลือดสูง
❖ ระดับแคโรทีนอยด์ในเลือดต่า มีความเสี่ยงสูงมากต่อการเป็นโรคศูนย์กลางจอประสาทตาเสื่อมแบบเปียก
❖ วัยหมดประจาเดือน ผู้หญิงที่เข้าสู่วัยหมดประจาเดือนและไม่ได้รับประทานฮอร์โมนเอสโตรเจน มักมีความเสี่ยงสูงในการเป็นโรคนี้
การรักษาโรคจอประสาทตาเสื่อม
การรักษาจอประสาทเสื่อมชนิดแห้ง
▶ ติดตามการรักษาตามแพทย์นัดเพื่อประเมินอาการและความผิดปกติขอจอประสาทตา
▶ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
▶ หลีกเลี่ยงแสงแดดจ้า สวมแว่นกันแดดเพื่อป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลต
▶ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ และพบว่าอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี สังกะสี และลูทีน (Lutein) อาจช่วยชะลอการเสื่อมของจอประสาทตาได้
▶ การรักษาด้วยเลเซอร์อาจมีประโยชน์ในผู้ป่วยบางราย
การรักษาจอประสาทตาเสื่อมชนิดเปียก
▶ การใช้ยาประเภทยับยั้งการสร้างหลอดเลือดจำพวก เบวาซิซูแมบ อะฟลิเบอร์เสบ แรนิบิซูแมบ ยาอาวาสติน (Avastin) ยาอายลี ยาลูเซนทิส ยามาคูเจน เป็นต้น
▶ การรักษาด้วยโฟโตไดนามิก เป็นการรักษา 2 ขั้นตอนโดยใช้ยาไวต่อแสงไปทำลายหลอดเลือดที่ผิดปกติ โดยแพทย์จะฉีดยาเข้าไปในกระแสเลือดเพื่อให้ซึมบริเวณที่หลอดเลือดมีความผิดปกติของดวงตา แล้วจึงฉายแสงเลเซอร์เย็นเข้าไปในตาเพื่อกระตุ้นยาให้ทำลายหลอดเลือดที่ผิดปกติอีกทีหนึ่ง
▶ การผ่าตัด เป็นการผ่าตัดเอาเส้นเลือดเกิดใหม่ออกมา
การใช้ลูทีนและซีแซนทีนในการป้องกันหรือชะลอโรคจอประสาทตาเสื่อม
ลูทีน (lutein) และซีแซนธิน (zeaxanthin) เป็นสารในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoids) ซึ่งเป็นรงควัตถุที่มีสีเหลือง ส้ม แดง มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ เสริมฤทธิ์ของวิตามินซีและวิตามินอี ยังพบสารเหล่านี้ในจอประสาทตามากที่สุดบริเวณโฟเวีย (Fovea) ซึ่งเป็นบริเวณที่รับภาพได้ชัดเจนที่สุด รงควัตถุเหล่านี้ทาหน้าที่ในการกรองแสงโดยสามารถกรองแสงได้ครอบคลุมหลาความยาวคลื่น โดยเฉพาะแสงสีฟ้าที่มีพลังงานสูงส่งผลต่อจอประสาทตามากที่สุด ซึ่งพบได้บ่อยจากแสงหน้าจอโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตและหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น จากการศึกษาในผู้ป่วยโรคจอประสาทตาเสื่อมที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ให้รับประทานอาหารเสริมที่มีปริมาณลูทีน 10 มิลลิกรัมและซีแซนธิน 1 มิลลิกรัม ร่วมกับวิตามินและแร่ธาตุอื่นๆ เป็นเวลา 6 เดือน พบว่ามีการสะสมของรงควัตถุในประสาทตามากขึ้นและผลการทดสอบการมองเห็นมีแนวโน้มที่ดีขึ้น
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง