แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
ในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผล ซึ่งการทำแผลไม่ถูกวิธี รวมทั้งการใช้พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผลไม่ถูกต้อง อาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ เพราะฉะนั้นการทำแผลที่ถูกต้องจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ เพื่อลดภาวะความเสี่ยงในการติดเชื้อ พลาสเตอร์ คือ แผ่นปิดแผลที่ทำจากผ้าก๊อซที่มีแถบกาวอยู่ด้านหลัง ช่วยดูดซับของเหลวจากบาดแผลทำให้แผลแห้งและสมานตัวเร็วขึ้น ช่วยกดแผลทำให้อาการปวดลดลง และช่วยป้องกันเชื้อโรคต่าง ๆ เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล ซึ่งอาจทำให้เกิดการอักเสบหรือติดเชื้อตามมาได้ เนื่องจากพลาสเตอร์มีหลายประเภทที่แตกต่างกันทั้งรูปร่างและขนาด การเลือกใช้พลาสเตอร์ให้เหมาะสมกับชนิดของบาดแผล และการศึกษาขั้นตอนการปิดพลาสเตอร์อย่างถูกต้องจะช่วยดูแลให้แผลหายเร็วขึ้นได้
เมื่อเกิดแผล ควรล้างทำความสะอาดแผลและปิดพลาสเตอร์อย่างถูกวิธี เพื่อช่วยลดความรุนแรงของบาดแผล และช่วยป้องกันการติดเชื้อได้ ตามขั้นตอนต่อไปนี้
✿ พลาสเตอร์แบบแถบกาวหรือผ้าก๊อซ ควรใช้พลาสเตอร์ชนิดนี้กับแผลบนฝ่ามือ หัวเข่า และบริเวณอื่นที่เสียดสีกับเสื้อผ้าหรือสัมผัสกับสิ่งสกปรกได้ง่าย หากแผลมีขนาดเล็กและไม่ได้อยู่ในบริเวณดังกล่าว อาจไม่จำเป็นต้องปิดพลาสเตอร์ เนื่องจากแผลจะแห้งเร็วและหายได้เองแม้ไม่ใช้พลาสเตอร์ปิดแผลไว้
✿ พลาสเตอร์ชนิดพิเศษแบบปิดแน่นหรือกึ่งปิดแน่น แพทย์อาจแนะนำให้ใช้พลาสเตอร์ชนิดนี้กับแผลที่มีขนาดใหญ่ เพื่อคงความชุ่มชื้นและลดการเกิดรอยแผลเป็น โดยพลาสเตอร์แต่ละชนิดเหมาะกับการใช้งานแตกต่างกันไปตามลักษณะ ประเภท และบริเวณที่เกิดแผล ทั้งนี้ ผู้ใช้ควรเลือกพลาสเตอร์ให้เหมาะสม โดยพิจารณาจากบาดแผลที่เกิดขึ้น ดังนี้
✿ แผลเปิด บาดแผลที่ฉีกขาดเล็กน้อยสามารถใช้พลาสเตอร์แบบผีเสื้อปิดตามแนวขวาง แต่หากเป็นแผลยาว ลึก หรือมีเลือดออกมาก ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรักษาและเย็บปิดบาดแผลอย่างเหมาะสม
✿ แผลบนใบหน้า หากแผลมีขนาดเล็กอาจไม่จำเป็นต้องปิดพลาสเตอร์ หรืออาจใช้พลาสเตอร์ปิดแผลแบบแถบกาว แต่หากแผลมีขนาดใหญ่และลึกมาก อาจจำเป็นต้องเย็บแผลเพื่อห้ามเลือด ลดการติดเชื้อ และช่วยให้แผลสมานตัวเร็วขึ้น
✿ แผลจากของมีคมบาดมือหรือเท้า แผลชนิดนี้มีโอกาสสัมผัสสิ่งสกปรกมากกว่าแผลบริเวณอื่น ๆ และอาจเสียดสีกับถุงเท้าหรือรองเท้าจนเกิดการระคายเคืองได้ ดังนั้น ควรปิดแผลด้วยพลาสเตอร์และเปลี่ยนพลาสเตอร์ทุกครั้งที่เริ่มเปียกหรือสกปรก แต่หากแผลลึกมาก ควรไปพบแพทย์ เพราะแผลอาจเสี่ยงติดเชื้อได้
✿ แผลบนข้อนิ้ว นิ้วมือ และส้นเท้า การปิดแผลบริเวณเหล่านี้อาจทำให้พลาสเตอร์หลุดออกได้ง่าย เนื่องจากเป็นอวัยวะส่วนที่มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม ควรปิดแผลไว้เพื่อป้องกันฝุ่นละอองและสิ่งสกปรกต่าง ๆ โดยควรใช้พลาสเตอร์รูปทรงนาฬิกาทราย หรือตัวเอช (H) ซึ่งเหมาะกับการปิดแผลตามข้อต่อของร่างกายและแผลบริเวณปลายนิ้วมือ และช่วยป้องกันการเกิดรอยย่นซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้พลาสเตอร์หลุดออกได้ง่าย
✿ เข่าหรือข้อศอกถลอก อาจปิดรอยแผลถลอกบริเวณหัวเข่าหรือข้อศอกด้วยพลาสเตอร์ขนาดใหญ่ หรือพลาสเตอร์ปิดแผลแบบแถบกาวที่มี 4 แฉก เนื่องจากพลาสเตอร์ชนิดนี้ติดแน่นและป้องกันการหลุดออกได้ดี นอกจากนี้ อาจใช้พลาสเตอร์แบบเหลว ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยหยุดเลือด ปกป้องแผลจากน้ำและสิ่งสกปรกเพื่อลดการติดเชื้อ
✿ แผลถลอกขนาดใหญ่ การทายาฆ่าเชื้อหรือใช้พลาสเตอร์ที่สามารถเพิ่มความชุ่มชื้นจะช่วยให้แผลลักษณะนี้หายเร็วขึ้น หากแผลไม่ตกสะเก็ดและยังเป็นแผลสดอยู่ ควรล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสะอาด ปิดพลาสเตอร์อย่างสม่ำเสมอ และสังเกตว่าแผลมีการติดเชื้อหรือไม่
✿ แผลพุพอง แผลที่มีตุ่มน้ำอาจไม่จำเป็นต้องรักษาหรือปิดพลาสเตอร์ เนื่องจากแผลชนิดนี้สามารถหายเองได้ หากมีแผลพุพองบริเวณที่เกิดการเสียดสีได้ง่าย เช่น ฝ่าเท้า อาจใช้ผ้าก๊อซเนื้อนุ่มปิดแผลเพื่อป้องกันการกดทับ หากตุ่มน้ำแตกและของเหลวไหลออกจากแผลแล้ว จึงค่อยใช้พลาสเตอร์ปิดแผลเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
✿ แผลไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก หากอาการไม่รุนแรงมากสามารถรักษาได้ด้วยตนเอง โดยควรล้างแผลให้สะอาดด้วยน้ำเย็นแล้วใช้ยาฆ่าเชื้อทาบาง ๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ แต่ห้ามใช้น้ำมันหรือแป้งทาลงบนแผลเด็ดขาด จากนั้นปิดแผลด้วยผ้าก๊อซแล้วใช้เทปกาวปิดทับเพื่อยึดไม่ให้ผ้าก๊อซที่ปิดไว้หลุด แต่ควรหลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์ปิดแผลชนิดนี้เพราะมีเนื้อกาวเหนียวที่อาจสัมผัสกับบาดแผล
● อุปกรณ์ทำแผล
จากการติดตามผู้ป่วยบางรายที่มาพบแพทย์ตามนัด พบว่ายังมีผู้ป่วยเกิดการอักเสบติดเชื้อที่แผล ภายหลังการผ่าตัด และหลังทำหัตถการ ซึ่งสาเหตุการติดเชื้อที่พบเกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจ และขาดประสบการณ์ในการดูแลแผลที่เท้าของผู้ป่วยและผู้ดูแล รวมทั้งการล้างแผลไม่ถูกวิธี ปัญหาที่เกิดขึ้นทำให้ส่งผลกระทบที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย เพิ่มระยะเวลาการรักษา เกิดความวิตกกังวล บางรายอาจสูญเสียอวัยวะได้หากมีอาการติดเชื้อที่รุนแรงมาก เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการติดเชื้อ และสูญเสียอวัยวะในภายหลัง การล้างแผลที่ถูกต้องจึงเป็นเรื่องสำคัญ
● ชนิดของการล้างแผล
การล้างแผลแบบแห้ง ใช้สำหรับล้างแผลสะอาด แผลปิด แผลที่ไม่มีการอักเสบ เป็นแผลเล็กๆ การล้างแผลแบบเปียก ใช้สำหรับล้างแผลที่มีลักษณะเป็นแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ การปิดแผลขั้นแรกจะใช้วัสดุที่มีความชื้น เช่น ผ้าก๊อซชุบน้ำเกลือ (0.9% normal saline) ปิดไว้ แล้วปิดด้วยผ้าก๊อซแห้งอีกครั้ง
● วัตถุประสงค์ของการล้างแผล
เพื่อให้แผลมีสภาวะที่ดี เหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อดูดซึมสารคัดหลั่ง เช่น เลือด น้ำเหลือง หนอง
จำกัดการเคลื่อนไหว ของแผลให้อยู่นิ่งให้ความชุ่มชื้น กับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติด และดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่ป้องกันแผล หรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือนป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อโรค จากอุจจาระ ปัสสาวะ หรือสิ่งสกปรกอื่นๆเป็นการห้ามเลือด
● อุปกรณ์ที่ใช้ล้างแผล
ชุดทำแผลที่ผ่านขั้นตอนการทำให้ปราศจากเชื้อ ประกอบด้วยปากคีบชนิดไม่มีเขี้ยว ปากคีบมีเขี้ยว ถ้วยใส่น้ำยา สำลี ผ้าก๊อซ น้ำยาฆ่าเชื้อ เบตาดีน หรือโปรวิดีน ไอโอดีน หรือยาฆ่าเชื้ออื่นๆ ตามแผนการรักษาของแพทย์ น้ำเกลือล้างแผล (โซเดียมคลอไรด์) แอลกอฮอล์ 70% ใช้สำหรับเช็ดผิวหนังรอบๆ พลาสเตอร์ และผ้าพันแผล แต่แผลบางชนิดอาจไม่ต้องใช้
ขั้นตอนการล้างแผลแบบแห้ง
ขั้นตอนการล้างแผลแบบเปียก
✿ เปิดแผล โดยใช้มือหยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในภาชนะรองรับ เปิดผ้าปิดแผลชั้นที่ติดกับแผลด้วยปากคีบมีเขี้ยว หากผ้าปิดแผล หรือผ้าก๊อชแห้งติดแผลให้ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหยดบนผ้าปิดแผลหรือผ้าก๊อซก่อน เพื่อให้เลือด หรือน้ำเหลืองอ่อนตัว จะช่วยให้ผ้าปิดแผลหลุดง่าย และไม่ทำลายเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้นมาใหม่ทำความสะอาดริมขอบแผล เช่นเดียวกับการล้างแผลแบบแห้ง ใช้สำลีชุบน้ำเกลือ หรือน้ำยาเช็ดภายในแผลจนสะอาด ใช้ผ้าก๊อซชุบน้ำยาใส่ในแผล เพื่อฆ่าเชื้อโรค ดูดซับสิ่งคัดหลั่ง และให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ ปิดแผลด้วยผ้า หรือผ้าก๊อซหุ้มสำลีตามขนาดของแผล และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัวสำหรับแผลที่เท้าของผู้เป็นเบาหวาน แพทย์จะต้องประเมินตามสภาพของแผล เช่น หากเป็นแผลผ่าตัดจัดเป็นแผลสะอาด ส่วนแผลที่มีหนอง อักเสบ บวม แดง หรือมีเนื้อตาย ถ้าได้รับการดูแลเอาหนอง หรือตัดเนื้อตายออก และล้างแผลให้สะอาดจากแพทย์โดยไม่มีการติดเชื้อแล้ว จัดว่าเป็นแผลสะอาด
คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลแผล
✿ ระวังไม่ให้แผลถูกน้ำ หรือเปียกชุ่ม หากแผลชุ่มมากควรเปลี่ยนผ้าปิดแผลใหม่ทันที
✿ ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และเพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับน้ำ โปรตีน วิตามิน และเกลือแร่ เช่น วิตามินซี เอ และ อี เป็นต้น เพื่อสร้างเนื้อเยื่อ และเสริมความแข็งแรงให้กับแผลหากเกิดอาการคัน หรือแพ้พลาสเตอร์ ควรเปลี่ยนชนิดใหม่ ไม่ควรเกาเพราะจะทำให้ผิวหนังรอบแผลช้ำถลอก เกิดการอักเสบ ติดเชื้อลุกลามขยายเป็นแผลกว้างได้ หากสังเกตว่าแผลมีอาการบวม แดง เริ่มรู้สึกปวดมากขึ้น ควรรีบมาพบแพทย์
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง