แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
✿ อาหารโภชนบำบัด ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบอวัยวะต่างๆ เป็นผลจากความเสี่อมตามอายุ ซึ่งสิ่งแวดล้อม อาหารและโภชนการจึงมีความสำคัญต่อการชะลอความเสี่อม และคงไว้ซึ่งความสมดุลของเมตาบอลิซึมของร่างกาย โดยการเลือกบริโภคสารอาหารหลักและแร่ธาตุต่างๆให้อยู่ในปริมาณที่พอเหมาะแก่ร่างกาย ให้ผลในการบรรเทาและป้องกันโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อต่างๆ ในผู้สูงอายุ เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ กระดูกพรุน ฯลฯ ผู้สูงอายุควรได้รับน้ำเพียงพอด้วย มีความจำเป็นที่ต้องสนับสนุนให้ผู้สูงออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อและข้อต่างๆ มีความแข็งแรงและทนทาน ซึ่งจะช่วยลดความสูญเสียมวลกระดูกและลดอัตราความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้อีกด้วย
✿ อาหารโภชนบำบัด หมายถึง การใช้อาหารและหลักโภชนาการในการรักษาหรือ บรรเทาอาการของโรค ซึ่งเป็นการดัดแปลงอาหารให้เหมาะสมกับภาวะของร่างกาย เพื่อจะได้ใช้อาหารนั้นเป็นเครื่องช่วย ให้ร่างกายฟื้นจากโรคภัยไข้เจ็บ อาหารที่ใช้ในโภชนบำบัดเป็นอาหารของคนปกติที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ แต่ดัดแปลงลักษณะบางประการของอาหารซึ่งมีความจำเป็นในการให้ผู้ป่วยหายจากโรค ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น เนื่องจากการกินอาหารไม่ได้เต็มที่หรือกินไม่ถูกต้อง
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงระบบ การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งอาจส่งผลกระทบ ต่อภาวะโภชนาการได้ทั้งปัญหาการขาดสารอาหาร และ ภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคเรื้อรังได้ เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะชะลอหรือป้องกันได้จากการดูแลเอาใจใส่ ให้คำแนะนำเรื่องการบริโภคอาหาร โดย ผู้สูงอายุมี ความต้องการอาหารเช่นเดียวกับวัยอื่น ๆ การรับประทาน อาหารต้องครบ 5 หมู่ทุกวัน แต่แตกต่างกันในด้านปริมาณ อาหารที่ลดลง และลักษณะของอาหาร การเลือกบริโภค อาหารให้เหมาะสมกับวัย ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ ร่วมกับการพักผ่อนที่เพียงพอ และการออกกายกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค อีกทั้งยังสามารถป้องกันการเกิดโรค เรื้อรังต่าง ๆ ได้
ดังนั้นอาหารทางการแพทย์จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้สูงอายุ เป็นอาหารสำหรับใช้เป็นโภชนาการบำบัดสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรคหรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ ซึ่งในผู้ป่วยที่ร่างกายขาดพลังงานและสารอาหารที่จำเป็นจากโรคหรือภาวะต่างๆ สิ่งหนึ่งที่จะเข้ามาช่วยให้ร่างกายได้รับสารอาหารและความต้องการอย่างเหมาะสมนั่นก็คืออาหารทางการแพทย์ ในปัจจุบันอาหารทางการแพทย์มีให้เลือกหลากหลายชนิดและมีหลากหลายสูตรเพื่อให้เลือกให้เหมาะสมกับโรคของผู้ป่วย ที่ผลิตโดยโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร มีสัดส่วนที่เป็นมาตรฐานตายตัว ให้คุณค่าและ สารอาหารที่แตกต่างกันออกไปโดยมีรายละเอียดของสารอาหารระบุไว้ที่ภาชนะบรรจุ
ปัจจุบันมีทั้งเป็นผงและของเหลว เช่น ISOCAL, MA-BEEDEE, ENSURE,GEN DM, Pan enteral, BOOT OPTMUM, BLENDERA-MF เป็นต้น ซึ่งแต่ละชนิดก็จะมุ่งเน้นให้ตรงกับความต้องการของร่างกายโดยเฉพาะ อาจจะอยู่ในรูปที่ใช้รับประทานหรือดื่มแทนอาหารหลักหรือในบางกรณีอาจดื่มเพื่อเป็นการเสริมอาหารบางมื้อและสำหรับใช้เป็นอาหารทางสายยางแก่ผู้ป่วยได้ สามารถใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้หรือผู้สูงอายุ ซึ่งร่างกายมีความจำเป็นที่ต้องได้รับสารอาหารเป็นประจำอยู่แล้ว หากร่างกายไม่ได้รับสารอาหารอาจจะทำให้อาการป่วยแย่ลงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ เพราะฉะนั้นอาหารทางการแพทย์สามารถนำมาชง ทำให้เป็นของเหลวเพื่อให้ไหลผ่านเข้าทางสายยางให้อาหารได้หรือชงดื่มก็ได้ ดังนั้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย อาหารทางการแพทย์ยังสามารถใช้เป็นอาหารเสริมเพื่อเพิ่มพลังงานให้กับผู้ที่รับประทานหารเองได้แต่ได้รับปริมาณและพลังงานของสารอาหารที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเช่น ผู้สูงอายุที่อาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร เช่น ภาวะเบื่ออาหาร รวมไปถึงปัญหาสุขภาพช่องปากและฟัน ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดภาวะเบื่ออาหาร หรือมีปัญหาในเรื่องของการบดเคี้ยวอาหารทำให้การรับประทานอาหารนั้นลดประสิทธิภาพลง รวมไปถึงผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่สามารถรับประทานอาหารได้น้อย โดยแพทย์จะทำการพิจารณาให้ใช้อาหารทางการแพทย์เป็นอาหารเสริม สำหรับสร้างพลังงานและสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายทำให้การรักษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับใครที่อยากใช้อาหารทางการแพทย์หรือหาซื้ออาหารทางการแพทย์มารับประทานเอง ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพราะอาหารทางการแพทย์ส่วนใหญ่มีใยอาหารที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพราะฉะนั้นควรที่จะเลือกชนิด เลือกสูตร ให้ถูกต้องเพราะร่างกายของเรามีความต้องการสารอาหารที่แตกต่างกัน ซึ่งอาหารทางการ
แพทย์แต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติที่แตกต่างกันเช่นเดียวกัน ดังนั้นควรได้รับคำแนะนำก่อนการซื้ออาหารทางการแพทย์มาใช้เพราะจะทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่สมดุลได้ อย่างไรก็ตาม ผู้สูงอายุควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณที่เหมาะสมต่อความต้องการของร่างกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ รวมไปถึงควรหมั่นออกกำลังกายเพื่อให้ร่างกายได้มีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทำให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่
1.สิริพันธุ์ จุลกรังคะ, โภชนศาสตร์เบื้องต้น, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2550 2.เนตรนภิส ธีระวัลย์ชัย, โภชนาการ บทที่23 โภชนาการ 1002 – 1042, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3.งานโภชนศาสตร์คลินิก คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล, โภชนศาสตร์ทางคลินิก ปี2551 4.รายงานคณะกรรมการจัดทำข้อกำหนดสารอาหารประจำวันที่ร่างกายควรได้รับของประชาชนไทย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข พ.ศ.2532. 5.เจริญศรี มังกรกาญจน์. โภชนาการ ใน: ดารณี ชุมนุมศิริวัฒน์, สมทรง เลขะกุล, บรรณาธิการ. ชีวเคมี คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล เล่ม2. กรุงเทพฯ: บริษัทพรประเสริฐ พริ้นติ้ง จำกัด, 2536. 6.วรนันท์ ศุภพิพัฒน์. อาหาร โภชนาการและสารเป็นพิษ. กรุงเทพฯ: แสงการพิมพ์, 2538. 7.Nutrition in Clinical Medicine,สาขาโภชนศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2553 : สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร 8.Cohn RM, Roth KS. Biochemistry and disease. Baltimore: Williams & Wilkins, 1996. 9.Linder MC. Nutritional biochemistry and metabolism with clinical application. 2nd ed. New Jersey : Prentice-Hall International Inc., 1991. 10.Mahan LK, Escott-Stump S. Krause’s food, nutrition & diet therapy. 9th ed. Philadelphia : W.B0Saunders Company, 1996
2. diet therapy :therapeutic nutrition , www.elnurse.ssru.ac.th › block_html › content โภชนบำบัด (diet therapy :therapeutic nutrition)
3.ชวิศา แก้วอนันต์ Chawisa Kaewanun คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย Faculty of Public Health, Eastern Asia University , โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ Nutrition of the Elderly
4. อาหารทางการแพทย์สามารถใช้เป็น อาหารสายยาง แก่ผู้ป่วยได้หรือ ...jamiemurray.org › อาหารทางการแพท... Translate this page
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง