แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
เควอซิทีน (Quercetin) เป็นชื่อของสารที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของสารจำพวกฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) ที่สามารถพบได้ในพืชหลายชนิด เช่น หัวหอม แปะก๊วย ชาเขียว เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนี้สามารถพบเจอคำว่า เควอซิทีน นี้ได้ตามผลิตภัณฑ์อาหารเสริมตามร้านทั่วไป อาจมีทั้งที่เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่มีส่วนประกอบเป็นเควอซิทีนทั้งหมด และผลิตภัณฑ์อาหารเสริมบางชนิดที่มีเควอซิทีนผสมรวมกับสารสกัดอื่นๆ
เควอซิทีนนั้น ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยต้านการอักเสบ และเสริมภูมิคุ้มกัน ในบางกรณี เควอซิทีนถูกนำมาใช้เพื่อลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดเลี้ยงสมองอุดตันของคนไข้บางราย ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด และต้านการอักเสบในหลอดเลือด อีกทั้งยังส่งผลไปถึงการลดความเสี่ยงในการตีบของหลอดเลือดหัวใจอีกด้วย เนื่องจากเควอซิทีนเป็นสารที่มีฤทธิ์ในการต้านสารอนุมูลอิสระที่สูง ในปัจจุบัน จึงนิยมนำสารเควอซิทีนมาใช้เป็นยาเพื่อป้องกันโรคทางระบบหลอดเลือดและหัวใจ รวมถึงใช้ในการป้องกันการอักเสบ และอาการแพ้ต่างๆอีกด้วย
เควอซิทิน Quercetin นั้นออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยต้านการอักเสบ และเสริมภูมิคุ้มกัน ในบางกรณี เควอซิทีนถูกนำมาใช้เพื่อลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดเลี้ยงสมองอุดตันของคนไข้บางราย ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด และต้านการอักเสบในหลอดเลือด อีกทั้งยังส่งผลไปถึงการลดความเสี่ยงในการตีบของหลอดเลือดหัวใจอีกด้วย เนื่องจากเควอซิทีนเป็นสารที่มีฤทธิ์ในการต้านสารอนุมูลอิสระที่สูง ในปัจจุบัน จึงนิยมนำสารเควอซิทีนมาใช้เป็นยาเพื่อป้องกันโรคทางระบบหลอดเลือดและหัวใจ รวมถึงใช้ในการป้องกันการอักเสบ และอาการแพ้ต่างๆอีกด้วย
ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสาร Quarcetin เป็นจำนวนมาก แต่ยังเป็นเพียงการศึกษาระยะสั้นและขนาดเล็ก จึงยังต้องมีการรวบรวมข้อมูลและการศึกษาต่างๆ ที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพในการรักษาของ Quarcetin ต่อไป
✿ โรคหัวใจ งานวิจัยบางชิ้นกล่าวว่าการรับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยเควอซิทินอย่างเช่นชา, หัวหอม, และแอปเปิ้ลอาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตเนื่องจากโรคหัวใจของผู้สูงอายุได้ อย่างไรก็ตามการทานอาหารเสริมเควอซิทินทุกวันกลับไม่อาจช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจของผู้ที่มีสุขภาพดีแต่อย่างใด
✿ การติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจ จากการออกกำลังกาย งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าการทานเควอซิทินอาจลดโอกาสติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจส่วนบนหลังการออกกำลังกายอย่างหนักหน่วงได้
✿ คอเลสเตอรอลสูง งานวิจัยบางชิ้นแสดงให้เห็นว่าการใช้อาหารเสริมเควอซิทินในระยะสั้นไม่อาจลดระดับคอเลสเตอรอลไลโพโปรตีนความหนาแน่นต่ำ (low-density lipoprotein (LDL) cholesterol) ที่ไม่ดี หรือเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลไลโพโปรตีนความหนาแน่นสูง (high-density lipoprotein (HDL) cholesterol) ที่ดีได้แต่อย่างใด
✿ การปลูกถ่ายไต งานวิจัยบางชิ้นกล่าวว่าการทานผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วยเควอซิทิน 20 mg กับเคอร์คูมิน (curcumin) 480 mg หนึ่งหรือสองครั้งต่อวันเริ่มจาก 24 ชั่วโมงของการปลูกถ่ายไตและต่อเนื่องนาน 1 เดือนร่วมกับยาต้านการปฏิเสธอวัยวะใหม่จะช่วยให้การทำงานของไตใหม่มีมากขึ้น
✿ มะเร็งปอด งานวิจัยบางชิ้นกล่าวว่าการบริโภคเควอซิทินปริมาณสูงจากอาหารอาจช่วยลดโอกาสเป็นโรคมะเร็งปอด โดยเฉพาะกับผู้ชายที่สูบบุหรี่ได้
✿ มะเร็งรังไข่ การศึกษาด้านประชากรชิ้นหนึ่งไม่พบความเชื่อมโยงของการบริโภคเควอซิทินจากอาหารกับโอกาสเป็นมะเร็งรังไข่แต่อย่างใด
✿ มะเร็งตับอ่อน งานวิจัยบางชิ้นกล่าวว่าการรับประทานอาหารที่มีเควอซิทินปริมาณสูงอาจลดโอกาสเกิดมะเร็งตับอ่อนในผู้ชายที่สูบบุหรี่โดยเฉพาะ
✿ อาการเจ็บปวดและบวมที่ต่อมลูกหมาก การทานเควอซิทินอาจช่วยลดอาการเจ็บปวดและเพิ่มคุณภาพชีวิตได้ แต่ไม่อาจช่วยแก้ไขปัญหาการขับถ่ายของผู้ชายที่มีปัญหาต่อมลูกหมากที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อได้
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง