แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
แครนเบอรี่ (cranberry) คือ ผลไม้ผลสีแดงสดในตระกูลเบอร์รี่ ซึ่งเป็นไม้พุ่มแคระ ต้นมีลักษณะเป็นเถา ไม่สูง มีดอกสีขาว ผลสีแดง รสชาติเปรี้ยวอมหวาน โดยหลักๆ เป็นผลไม้ที่มีวิตามิน c สูง คุณสมบัติเบื้องต้นคือ ช่วยสร้างภูมิต้านทาน หนึ่งในผลไม้ตระกูลเบอรี่ที่ได้รับความนิยมนำมาสกัดเพื่อทำเป็นอาหารเสริมเพื่อสุขภาพก็คือ แครนเบอร์รี่ บทความนี้จะได้ทำความรู้จักกับ แครนเบอร์รี่
✿ ช่วยป้องกันโรคเหงือก
✿ ช่วยรักษาแผลในช่องท้อง
✿ ช่วยรักษาโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ติดเชื้อในท่อปัสสาวะ ขจัดกลิ่นปัสสาวะได้ดี (บ้างว่าใช้แก้อาการปวดปัสสาวะแบบกระปริบกระปอยได้ด้วย)
✿ ช่วยรักษาและป้องกันโรคที่มาจากเชื้อแบคทีเรีย โดยผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ระบุว่า การดื่มน้ำแครนเบอร์รี่วันละ 30 ml. จะช่วยลดจำนวนของแบคทีเรียในปัสสาวะลง และป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะปัสสาวะได้ดี เพราะผลไม้ชนิดนี้มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
✿ ช่วยยับยั้งเชื้อแบคทีเรียอีโคไล (E.coli)[2] โดยมีรายงานว่าผู้หญิงที่ได้รับสารสกัดจากแครนเบอร์รี่อย่างต่อเนื่อง จะช่วยยับยั้งการยึดเกาะตัวของเชื้ออีโคไลได้อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.0001) เมื่อเทียบกับหญิงที่ไม่ได้รับสารสกัดจากผลแครนเบอร์รี่
✿ ด้วยความเป็นกรดอ่อน ๆ ของผลแครนเบอร์รี่ จึงสามารถช่วยยับยั้ง ป้องกัน และรักษาการเกิดนิ่วในไตได้[2],[3] การดื่มน้ำแครนเบอร์รี่ 500 มิลลิกรัม แล้วดื่มน้ำตาลอีก 1,500 มิลลิลิตร สามารถช่วยป้องกันการตกตะกอนของ Calcium oxalate ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของนิ่วในไตได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับการดื่มน้ำเปล่าอย่างเดียว
✿ ช่วยทำให้ร่างกายสามารถกลับคืนสู่สภาวะปกติได้หลังเกิดอาการชัก
✿ หญิงที่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร ทั้งนี้เพราะจำเป็นต้องระมัดระวังเรื่องการรับประทานเพราะจะมีผลส่งถึงบุตรในครรภ์ได้
✿ ผู้มีโรคประจำตัว เช่น มีอาการแพ้ยา โดยเฉพาะแอสไพริน ทั้งนี้เพราะในแครนเบอร์รี่เองก็มีกรดซาลิไซลิก อาจจะแพ้ไปด้วย
✿ คนที่มีโรคประจำตัวอื่นๆ ที่ต้องควบคุมอาหารเช่น โรคเบาหวาน ไม่ควรรับประทานเพราะอาจมีผลต่อน้ำตาลในเลือด
✿ การใช้ยาบางอย่าง จำเป็นต้องควบคุมอาหาร แครนเบอร์รี่อาจต่อต้านยานั้นๆ จึงไม่ควรรับประทานเองโดยพลการ
ทั้งนี้ การผลิตอาหารเสริมนั้น ต้องนำผลแครนเบอร์รี่ไปผ่านกรรมวิธีและอาจมีส่วนผสมอื่นๆ แต่ต้องเลือกแหล่งที่มาและผลิตภัณฑ์ที่เชื่อถือได้ เพื่อประโยชน์สูงสุด ร้านขายยาฉันนำจึงเป็นทางเลือกที่ดีอีกทางหนึ่ง
โรคหัวใจมักเกิิดจากการสะสมของไขมันภายในหลอดเลือดแดง ทำให้เสี่ยงเกิดลิ่มเลือดอุดตันและหลอดเลือดภายในอวัยวะต่าง ๆ เกิดความเสียหายจนเจ็บป่วยรุนแรงหรือเสียชีวิตได้ แครนเบอร์รี่เป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยสารอาหารและสารต้านอนุมูลอิสระหลากชนิด จึงเชื่อว่าการบริโภคแครนเบอร์รี่อาจส่งผลดีต่อสุขภาพหัวใจด้วย โดยการศึกษาทดลองในมนุษย์พบว่า น้ำแครนเบอร์รี่หรือสารสกัดจากแครนเบอร์รี่อาจมีประโยชน์กับผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหัวใจ เช่น ช่วยเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลชนิดที่ดี (HDL) ลดระดับคอเลสเตอรอลชนิดที่ไม่ดี (LDL) ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ลดระดับความดันโลหิตและลดความแข็งตึงของหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคหัวใจ รวมถึงลดระดับโฮโมซีสเตอีน ซึ่งเป็น 1 ในปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจ
แม้การศึกษาข้างต้นจะแสดงให้เห็นว่าการบริโภคน้ำแครนเบอร์รี่อาจส่งผลดีต่อสุขภาพหัวใจ และอาจช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจ แต่งานค้นคว้าอีกส่วนหนึ่งกลับแสดงผลลัพธ์ที่ต่างกันออกไป จึงจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมในด้านนี้ต่อไป เพื่อยืนยันประสิทธิภาพของแครนเบอร์รี่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และควรปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับความปลอดภัย ปริมาณ และระยะเวลาในการบริโภคที่เหมาะสมก่อนตัดสินใจบริโภคแครนเบอร์รี่เพื่อหวังประโยชน์ต่อสุขภาพหัวใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจสูง หรือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพใด ๆ
✿ แครนเบอร์รี่กับการบรรเทาอาการไข้หวัด
ไข้หวัดเป็นการติดเชื้อไวรัสชนิดไม่รุนแรงที่ระบบทางเดินหายใจส่วนบน ได้แก่ จมูก ไซนัส คอ ทำให้มีอาการไอ เจ็บคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล หลายคนเชื่อว่าการรับประทานผลไม้รสเปรี้ยวอย่างแครนเบอร์รี่ช่วยบรรเทาอาการที่เกิดจากไข้หวัดได้ จากการศึกษาหนึ่งแสดงให้เห็นว่า การบริโภคน้ำแครนเบอร์รี่ปริมาณ 450 มิลลิกรัม เป็นประจำทุกวัน อาจช่วยบรรเทาอาการของไข้หวัดได้ เนื่องจากแครนเบอร์รี่ประกอบด้วยสารพอลีฟีนอลและสารโปรแอนโทไซยานิดินที่อาจเป็นประโยชน์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน อย่างไรก็ตาม การค้นคว้าดังกล่าวเป็นงานทดลองขนาดเล็ก จึงควรศึกษาวิจัยถึงประสิทธิผลที่ชัดเจนของแครนเบอร์รี่ในด้านนี้ต่อไปในอนาคต
✿ แครนเบอร์รี่กับการต้านเชื้อเอชไพโลไร
เชื้อเอชไพโลไรเป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เป็นสาเหตุของแผลในกระเพาะอาหาร และการติดเชื้อเอชไพโรไลในผู้ป่วยบางรายอาจนำไปสู่โรคมะเร็งกระเพาะอาหารได้ ในทางการแพทย์คาดว่าแครนเบอร์รี่อาจมีฤทธิ์ต้านเชื้อเอชไพโลไร โดยมีการศึกษาชิ้นหนึ่งพบว่า การบริโภคน้ำแครนเบอร์รี่เป็นประจำทุกวันช่วยยับยั้งการติดเชื้อเอชไพโลไรในผู้ป่วยที่ติดเชื้อชนิดนี้ได้
✿ แครนเบอร์รี่กับการป้องกันโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ
โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น เชื้ออีโคไล (E. Coli) ที่เพิ่มจำนวนและเจริญเติบโตในทางเดินปัสสาวะ ซึ่งหลายคนเชื่อว่าสารประกอบในแครนเบอร์รี่จะช่วยป้องกันแบคทีเรียเหล่านั้นจากการเกาะตัวตามผนังกระเพาะปัสสาวะจนเกิดการติดเชื้อได้ แต่การศึกษาวิจัยจำนวน 24 ชิ้น ได้ชี้ให้เห็นว่า โดยส่วนใหญ่การบริโภคแครนเบอร์รี่ชนิดเม็ดหรือแคปซูล และน้ำแครนเบอร์รี่ไม่อาจช่วยป้องกันโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบได้ โดยอาจเป็นเพราะสารต่าง ๆ ในแครนเบอร์รี่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอ อีกทั้งการบริโภคน้ำแครนเบอร์รี่เป็นเวลานานอาจทำให้เกิดผลเสียต่อร่างกายด้วย
การรับประทานแครนเบอร์รี่ในปริมาณที่พอเหมาะนั้นค่อนข้างปลอดภัยสำหรับคนส่วนใหญ่ แต่การดื่มน้ำแครนเบอร์รี่ปริมาณมาก อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงเป็นอาการปวดท้องหรือท้องเสียได้เล็กน้อย หรือหากดื่มน้ำแครนเบอร์รี่ปริมาณมากกว่าวันละ 1 ลิตร ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจเพิ่มความเสี่ยงเกิดนิ่วในไตได้อีกด้วย
✿ หญิงตั้งครรภ์หรืออยู่ในช่วงให้นมบุตร ไม่ควรรับประทานแครนเบอร์รี่ เนื่องจากยังมีข้อมูลด้านความปลอดภัยไม่เพียงพอ จึงควรหลีกเลี่ยงความเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์หรือในช่วงให้นมบุตร
เด็ก การรับประทานหรือดื่มน้ำแครนเบอร์รี่ในปริมาณที่เหมาะสมนั้นค่อนข้างปลอดภัยสำหรับเด็ก
✿ ผู้ที่แพ้ยาแอสไพริน ห้ามรับประทานหรือดื่มน้ำแครนเบอร์รี่ในปริมาณมาก เนื่องจากแครนเบอร์รี่ประกอบไปด้วยกรดซาลิไซลิก ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของยาแอสไพริน ทำให้ผู้ที่แพ้ยาแอสไพรินเสี่ยงเกิดอาการแพ้ต่าง ๆ จากการบริโภคแครนเบอร์รี่ได้เช่นกัน
✿ ผู้ที่กำลังใช้ยาวาร์ฟาริน อาจต้องปรับปริมาณยาที่ใช้อยู่และไปตรวจเลือดเป็นประจำ เพราะแครนเบอร์รี่อาจขยายระยะเวลาที่ยาวาร์ฟารินอยู่ในร่างกาย และทำให้เกิดแผลฟกช้ำหรือมีเลือดออกได้ง่าย
✿ ผู้ป่วยเยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ และผู้ที่มีกรดในกระเพาะต่ำ เพราะแครนเบอร์รี่อาจกระตุ้นให้ร่างกายดูดซึมวิตามินบี12 เพิ่มมากขึ้น หากร่างกายมีวิตามินบี12 มากเกินไป อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น มีผื่นคัน คลื่นไส้ ท้องเสีย ความดันโลหิตต่ำ เป็นต้น
✿ ผู้ป่วยนิ่วในไต รวมถึงผู้ที่เคยเป็นนิ่วในไต ไม่ควรดื่มน้ำแครนเบอร์รี่หรือบริโภคสารสกัดจากแครนเบอร์รี่ในปริมาณมาก เนื่องจากแครนเบอร์รี่มีสารออกซาเลต (Oxalate) ซึ่งเมื่อสารนี้จับตัวกับแคลเซียม อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดนิ่วในไตได้
✿ ผู้ป่วยเบาหวาน เนื่องจากผลิตภัณฑ์น้ำแครนเบอร์รี่บางชนิดมีส่วนผสมของน้ำตาลปริมาณมาก จึงควรเลือกน้ำแครนเบอร์รี่ที่มีน้ำตาลน้อย หรือมีสารให้ความหวานทดแทนน้ำตาล
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง