แบรนด์
บทความ
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
เก้าอี้อาบน้ำ (Bath Chair)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยไขมันสูง (HyperLipidemia Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)
อุปกรณ์บริหารปอด (Respiratory Trainer)
อุปกรณ์วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Fingertip Oximeter)
อุปกรณ์ช่วยฟัง (Stethoscope)
อุปกรณ์บริหารและกายภาพบำบัด (Exercise & Physical Therapy)
สายสวนปัสสาวะ (Foley Balloon Catheter)
สายให้อาหารทางสายยาง (NG Tube, Feeding Tube)
ถุงให้อาหาร (Nutrition Bag)
ถุงปัสสาวะ (Urine Collection Bag)
ผ้ายืดสวมประคอง (Elastic Bandage)
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ( Corrugated Tube )
เทปแต่งแผล (Adhesive Tape roll)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
น้ำเกลือ (Normal Saline)
แปรงสีฟัน (Toothbrush)
เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ Anti-Bedsore Gel Cushion
หมอนป้องกันแผลกดทับ (Anti-Bedsore Pillow)
หมอนก-ข-ค (ก้น-ขา-คอ)
สเปรย์น้ำทะเล เจือจางพ่นหรือล้างจมูก
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยฟอกเลือด ล้างไต
อาหารโภชนบำบัด สำหรับผู้สูงอายุ (Nutrition Therapy Aging)
อาหารควบคุมน้ำหนัก (Nutrition for Weight Control)
อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอุดกั้น (COPD Nutrition)
สารอาหาร
วิตามินซี (Vitamin C)
สารสกัดจากเมล็ดองุ่น Grape Seed Extract
Gingko Biloba สารสกัดจากใบแปะก๊วย
วิตามินบี1 Vitamin B1-Thiamine
วิตามินบี6 Vitamin B6-PYRIDOXINE
วิตามินดี Vitamin D
โคเอนไซม์คิวเท็น Coenzyme Q10
Bioflavonoid (ไบโอฟลาโวนอยด์ -วิตามิน P)
แอล-กลูตาไธโอน (L - Glutathione)
แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine)
ไลซีน L-Lysine
แอล-อาร์จินีน (L-Arginine)
Collagen (คอลลาเจน)
ไลโคพีน Lycopene
น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว Rice Bran Oil
น้ำมันปลา Fish oil-Omega 3
วิตามินบี12 Vitamin B12-Cobalamin
น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส Evening Primrose Oil
อะเซโรลาเชอรี่ Acerola Cherry
อัลฟ่า-ไลโปอิก-แอซิด (Alpha Lipoic Acid)
แอสตร้าแซนทีน (Astaxantine)
พรอบพอริส (Propolis)
สารสกัดบิลเบอร์รี่ (Bilberry)
เบต้ากลูแคน (Beta-glucan)
ไบโอติน (Biotin)
สารสกัดแบล็คโคโฮช (Black Cohosh)
น้ำมันโบราจ Borage Oil
โบรอน Boron
บรีเวอร์ยีสต์ Brewer Yeast
สารสกัดต้นตะบองเพชร (Cactus)
Aquamin (อะควอมิน-แคลเซี่ยมจากสาหร่ายทะเล)
ไคโตซาน (Chitosan)
Chlorophyll (คลอโรฟิล)
โคลีน Choline
คอนโดรอิติน (Chondroitin)
โครเมี่ยม-พิโคลิเนต (Chromium picolinate)
สารสกัดจากอบเชย (Cinnamon Extract)
แครนเบอร์รี่ (Cranberry)
Curcumin
สารสกัดเอคไคเนเชีย (Echinesia)
ไฟเบอร์ (Fiber)
น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flax seed oil)
โฟลิก-แอซิด (Folic acid)
กรดไขมันแกมม่า ไลโนเลอิค แอซิดGamma Linoleic acid
สารสกัดส้มแขก (Garcinia Extract)
สารสกัดกระเทียม (Garlic Extract)
สารสกัดโสม (Ginseng Extract)
กลูโคซามีน Glucosamine
L-Glutamine (แอล กลูตามีน)
สารสกัดชาเขียว (Green tea extract)
สารสกัดหญ้าหางม้า (Horsetail extract)
เซนต์จอห์นเวิร์ต St’ John Wort (Hypericin)
อินโนซิทอล (Inositol)
เลซิติน (Lecithin-phosphatidylcholine)
แมกนีเซียม (Magnesium)
เมลาโทนิน (Melatonin)
เอ็นอะเซทิลซีสเตอีน N-Acetyl Cysteine (NAC)
วิตามินรวม (Multi-Vitamins)
Nicotinamide นิโคตินามายด์ (B3 Complex)
วิตามินบี3-ไนอาซิน (Vitamin B3-Niacin)
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
โปรไบโอติก (Probiotics)
พรีไบโอติก (Prebiotics)
สารสกัดจากเมล็ดฟักทอง (Pumpkin seed extract)
รอยัลเยลลี่ Royal Jelly
สารสกัดเซาพาเมตโต้ (Saw palmetto Extract)
ซีลีเนี่ยม (Selenium)
กระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)
สารสกัดดอกมิลค์ทิสเซิล (Silymarin extract)
ทีทรีออยล์ (Tea tree oil)
วาเลอเลียน (Valerian)
วิตามินอี (Vitamin E)
สารสกัดถั่วขาว (White Kidney Bean Extract)
ลูทีนและซีแซนทีน (Lutein,Zeaxanthin)
แร่ธาตุสังกะสี (Zinc)
กวาวเครือขาว (Pueraria Mirifica)
เอ็นไซม์ (Enzymes)
วิตามินเค (Vitamin K)
VitaminB5-Pantothenic acid (วิตามินบี 5 แพนโททีนิค แอซิด)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
น้ำมันเปปเปอร์มิ้นท์ Peppermint Oil
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
งาดำ Sesame
ข้าวยีสต์แดง Red Yeast Rice
สารสกัดถั่วเหลือง Isoflavone
สารสกัดทับทิม Promegranate
วิตามินบี2 -ไรโบเฟลวิน (Vitamin B2-Riboflavin)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
วิธีสั่งซื้อ
แสงแดดประกอบด้วยคลื่นความถี่ของรังสี ที่แตกต่างกันตามความยาวคลื่น แสงที่มองเห็นมีความยาวคลื่นในช่วง 400-700 นาโนเมตรในขณะที่แสงที่มองไม่เห็น ที่สำคัญได้แก่ รังสีอัลตราไวโอเลต (UV) มีความยาวคลื่นสั้นในช่วง 280-400 นาโนเมตร และแสงอินฟราเรดมีความยาวคลื่นยาวอยู่ในช่วง 700 นาโนเมตร - 1 มม. รังสีที่มีความยาวคลื่นยาว ทั้งแสงที่มองเห็น และอินฟราเรดในแสงแดด มีโอกาสที่จะเจาะลึกลงไปก่อให้เกิดความเสียหายในผิวได้น้อย
ในสภาวะในปัจจุบัน โลกมีความร้อนมากขึ้น รวมทั้งสภาพแวดล้อมในการใช้ชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเป็นไฟส่องสว่างจากแสงไฟที่ทำงาน หรือแสงแดดมลภาวะต่างๆ รวมไปถึงคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ ที่หลายคนต้องเผชิญโดยเลี่ยงไม่ได้ กันแดด จึงจำเป็นและมีบทบาทสำคัญ ที่เป็นตัวช่วยอย่างดีในการปกป้องสุขภาพผิว และป้องกันการเกิดโรคต่างๆที่เกี่ยวกับผิวหนัง กันแดดจึงมีบทบาทสำคัญ ต่อผู้คนในยุคปัจจุบัน แสงแดด ที่เราต้องเผชิญในแต่ละวันเป็นหนึ่งในปัจจัยกระตุ้นที่มีผลต่อสุขภาพผิวหน้า นำไปสู่ปัญหาผิวได้หลายประการ ทั้งริ้วรอย ผิวหย่อนคล้อย จุดด่างดำ ฝ้า กระแดด หรือเป็นสิว แม้จะมีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อช่วยป้องกันผิวจากแสงแดด แต่ก็เป็นเพียงตัวช่วยเสริมเท่านั้น เพราะการปกป้องผิวจากแสงแดดที่ดีที่สุดคือการใช้ครีมกันแดด ดังนั้นการเลือกครีมกันแดดที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อช่วยให้คุณค้นหาครีมกันแดดที่ดีที่สุดสำหรับสภาพผิวของคุณ
แสงแดด โดยเฉพาะอย่างยิ่งรังสียูวีเอ และรังสียูวีบี สามารถทำให้เกิดผิวไหม้, ริ้วรอยก่อนวัย, ความเสียหายต่อดวงตา, ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ, ผื่นแพ้แดด(Photoallergic) และผื่นที่เหมือนกับถูกแดดเผาไหม้( Phototoxic reactions) และแม้แต่โรคมะเร็งผิวหนัง แพทย์และแพทย์ผิวหนังจำนวนมากขึ้น เตือนถึงความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกันระหว่างความถี่ของการเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง และขอบเขตของความเสียหายของดีเอ็นเอ โดยพบว่ากว่า 90% ของมะเร็งผิวหนังเป็นผลมาจากแสงแดด และเป็นที่ทราบกันดีว่าการรักษาที่ดีที่สุด คือการป้องกันโดยการปกป้องผิวจากแสงแดด
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดดในปัจจุบัน นอกจากจะต้องมีประสิทธิภาพในการปกป้องรังสี UVA/UVB จากแสงแดดได้ดีแล้ว ควรมีคุณสมบัติในการปกป้องผิวจากคลื่นรังสีและคลื่นแสงจากที่อื่นๆ ด้วย เช่น แสงจากหลอดไฟ จอโทรทัศน์ จอโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เนื่องจากอุปกรณ์เหล่านี้สามารถปล่อยพลังงาน High-energy visible light(HEVIS Light) หรือ แสงสีฟ้า ซึ่งมีอานุภาพในการทำร้ายเซลล์ผิวเทียบเท่ากับรังสี UVA และ UVB สามารถกระตุ้นการสร้างอนุมูลอิสระ (Free Radical) และเม็ดสีเมลานิน ต้นตอของการเกิดจุดด่างดำ ฝ้า กระ รวมถึงปัญหาผิวและริ้วรอยอื่นๆ ได้เช่นกัน
เพื่อให้ผิวได้รับการปกป้องและดูแลปัญหาผิวได้เป็นอย่างดี วันนี้เรามีคำแนะนำการเลือกครีมกันแดด สำหรับแต่ละสภาพผิวมาแนะนำ
SPF (Sun Protection Factor) หรือค่าความสามารถในการป้องกันรังสี UVB ซึ่งตัวเลขที่ต่อท้ายจะเป็นการบอกค่าจำนวนเท่าของระยะเวลาที่ผิวสามารถทนต่อรังสีได้ โดยหลังจากนั้นถึงจะเกิดอาการแดงหรือผิวไหม้แดด ปัจจุบันในครีมกันแดดมีค่าปกป้องแตกต่างหลายระดับ เพื่อให้สามารถเลือกใช้งานได้ตามแต่สถานการณ์
PA (Protection Grade of UVA) คือ ค่าที่แสดงถึงการปกป้องผิวจากรังสี UVA ที่สามารถทำร้ายผิวได้ลึกจนทำให้เกิดปัญหาฝ้า กระ ริ้วรอย และความแก่ก่อนวัย ส่วนเครื่องหมาย + ที่ตามหลังนั้น คือค่าความสามารถในการปกป้องผิว
ครีมกันแดดทั่วไปมักจะเน้นไปที่การปกป้องรังสี UVA/UVB จากแสงแดดเป็นหลัก แต่เพราะไลฟ์สไตล์แบบชีวิตติดจอของคนยุคใหม่ในปัจจุบัน การเลือกกันแดดที่ดีที่สุดจึงต้องช่วยปกป้องได้มากกว่าและต้องมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดการทำร้ายผิวจากแสงแดดและรังสีต่างๆ ได้อีกด้วย
นอกจากคุณสมบัติที่สำคัญทั้ง 2 ข้อจากที่กล่าวมาแล้วนั้น หัวใจสำคัญอีกข้อคือ เนื้อสัมผัส ควรเลือกครีมกันแดดที่มีเนื้อบางเบา ซึมซาบเร็ว ไม่ทิ้งความมันตกค้าง เกาะติดผิวแต่ไม่ทำให้รู้สึกเหนอะหนะ ไม่หลุดง่ายระหว่างวัน มีส่วนผสมที่อ่อนโยน เหมาะกับสภาพผิวและปัญหาผิวของ
สารที่ช่วยปกป้องผิวจากรังสีอัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวี (Ultraviolet Radiation: UV) โดยช่วยให้ผิวไม่ถูกแสงแดดทำลายจนไหม้หรือเกิดจุดด่างดำต่าง ๆ รวมทั้งลดโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง ส่วนผสมที่อยู่ในครีมกันแดดจะช่วยปกป้องผิวด้วยวิธีต่าง ๆ ทั้งดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลต ปกป้องชั้นผิวที่อยู่ลึก หรือสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลตกลับออกไป ทั้งนี้ ครีมกันแดดมีให้เลือกใช้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ โลชั่น ครีม ขี้ผึ้ง หรือสเปรย์ครีมกันแดดสามารถแบ่งประเภทได้หลายประเภท โดยการจัดครีมกันแดดจะแบ่งออกเป็นประเภทตามกลไกการป้องกันแสงแดด และประเภทตามบริเวณที่ใช้ทา ดังนี้
หากพิจารณากลไกการป้องกันแสงแดด ครีมกันแดดสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารกันแดดแบบเคมี และสารกันแดดแบบกายภาพ ดังนี้
ครีมกันแดดมีให้เลือกใช้หลากหลายรูปแบบตามความต้องการ ซึ่งอาจแบ่งประเภทตามบริเวณที่ใช้ทาครีมกันแดด โดยทั่วไปแล้ว ครีมกันแดดจะมีทั้งแบบโลชั่น ครีม เจล ขี้ผึ้ง สเปรย์ หรือผสมอยู่ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางอื่น ๆ ซึ่งมีประโยชน์ใช้สอยและเหมาะกับการใช้ทาเพื่อปกป้องแสงแดดตามบริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนี้
✿ แบบครีม เหมาะใช้ทาบริเวณใบหน้าและผู้ที่มีผิวแห้ง
✿ แบบเจล เหมาะสำหรับทาบริเวณที่มีขน เช่น หนังศีรษะหรือหน้าอกของผู้ชาย
✿ แบบแท่ง ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางแบบแท่ง อาจผสมสารกันแดดร่วมด้วย ซึ่งเหมาะใช้ทาบริเวณที่อยู่รอบดวงตา
✿ แบบสเปรย์ สารกันแดดในรูปแบบสเปรย์อาจนำมาใช้ทากันแดดให้แก่เด็ก เนื่องจากทาได้ง่าย โดยควรทาสารกันแดดเพื่อปกป้องผิวในปริมาณที่เพียงพอ และไม่ควรสูดดมหรือฉีดสเปรย์ใกล้วัตถุไวไฟหรือขณะที่สูบบุหรี่
นอกจากนี้ ยังมีครีมกันแดดที่ผลิตขึ้นมาสำหรับเด็กหรือผู้ที่มีผิวแพ้ง่ายโดยเฉพาะ รวมทั้งผสมสารป้องกันแสงไว้ในเครื่องสำอางหรือผลิตภัณฑ์บำรุงผิวต่าง ๆ ซึ่งควรใช้ตามวัตถุประสงค์หลักของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ไม่ควรนำมาใช้เพื่อป้องกันแสงแดด
หากโดนแสงแดดมาก ๆ โดยที่ไม่มีครีมกันแดดป้องกันไว้เลย ก็จะทำให้ผิวของเราคล้ำลงอย่างเห็นได้ชัด เพราะเมื่อแสงแดดเข้าสู่ผิว แล้วไม่เจอครีมกันแดดป้องกัน ผิวของเราจะทำหน้าที่ปกป้องผิวตัวเอง ด้วยการผลิตเม็ดสีเมลานินเพิ่มขึ้น เลยส่งผลให้ผิวเราคล้ำขึ้นนั่นเอง และอีกหนึ่งผลเสียที่ตามมาก็คือ สีผิวจะไม่สม่ำเสมอกันด้วย
ริ้วรอยก่อนวัยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากแสงแดด รวมถึงฝ้า กระ จุดด่างจากอายุ (หรือที่เรียกว่า “Liver spot”), หลอดเลือดดำที่มีลักษณะเหมือนใยแมงมุม (Spider Vein) บนใบหน้า ผิวหยาบ และริ้วรอย ทั้งหมดล้วนเชื่อมโยงไปถึงการสัมผัสแสงแด
เป็นรูปแบบที่พบมากที่สุดของความเสียหายจากดวงอาทิตย์และส่วนใหญ่เกิดจากรังสียูวีบี มีลักษณะ ผิวสีแดง เจ็บและพุพอง อาการเหล่านี้อาจไม่ปรากฏขึ้นทันที อาจใช้เวลาถึงห้าชั่วโมงจึงปรากฏ ผิวไหม้แดด (Sunburn) สามารถป้องกันได้โดย การใช้ครีมกันแดดทุกวัน และโดยการหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดวงอาทิตย์เมื่อรังสียูวีแรง (10:00-4:00) หลักการรักษาการถูกแดดเผาอคือการระบายความร้อนที่ผิวหนังเพื่อบรรเทาอาการปวดและการอักเสบ รวมถึงการใช้ผ้าสักหลาดเย็นประคบบริเวณพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ และใช้ผลิตภัณฑ์ที่เย็นปลอบประโลมผิว 'หลังจากสัมผัสแสงจากดวงอาทิตย์
อัลตราไวโอเลตในแสงแดด เป็นตัวกระตุ้นให้เซลล์สร้างเม็ดสีทำงานมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงหน้าร้อนส่งผลให้ผิวคล้ำขึ้น และเกิดฝ้ากระได้ การโดนแดดสะสมเป็นเวลานานๆ โดยไม่มีการป้องกัน อาจเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนังได้อีกด้วย
โรคมะเร็งผิวหนังมีแนวโน้มที่จะเกิดกับผิวหนังบริเวณที่สัมผัสกับดวงอาทิตย์ ดังนั้นผิวหน้าเพื่อจึงเป็นบริเวณหนึ่งที่มีความเสี่ยง เกิดเป็นผื่นผิวหนังที่มีลักษณะหยาบเป็นขุย (Actinic keratosis) ซึ่งสามารถที่จะพัฒนาไปเป็นมะเร็งได้ ผื่นผิวหนังที่มีลักษณะหยาบเป็นขุย (Actinic keratoses) เป็นสะเก็ดแห้งของผิว เกิดความเสียหายหลังจากสัมผัสแสงแดด อาจเป็นสีชมพู, สีแดง หรือสีน้ำตาล มีความกว้าง 0.5 ถึง 3 ซม. พบมากที่สุดบนใบหน้า (โดยเฉพาะริมฝีปากจมูกและหน้าผาก), คอแขน และหลังของมือ และในผู้ชายบนขอบของหู และกระโหลกศีรษะล้าน และในผู้หญิงที่ขาใต้เข่า
การเลือกซื้อครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์ที่ป้องกันแสงแดดอย่างถูกต้อง ทำได้ ดังนี้
► ควรเลือกครีมกันแดดที่มีค่า PA ให้เหมาะกับกิจวัตรประจำวันที่อาจส่งผลต่อคุณภาพที่ดีของแต่ละคน
ค่า PA คือ ค่าระดับความสามารถในการปกป้องผิวจากรังสียูวีเอ (UVA) ระบุค่าความสามารถเป็นจำนวนเครื่องหมายบวก (+) PA + คือ ความสามารถในการปกป้องผิวจากความหมองคล้ำ ได้มากกว่าผิวปกติ 2-4 เท่า PA ++ คือ ความสามารถในการปกป้องผิวจากความหมองคล้ำ ได้มากกว่าผิวปกติ 4-8 เท่า
PA+ คือ มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี
PA++ คือ มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีได้ปานกลาง ทำงานในที่ร่ม หรือในออฟฟิศ
PA+++ คือ มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีได้มาก สามารถทำงานกลางแดดจ้าได้
PA++++ คือ มีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีได้สูงมาก ทำงานกลางแดดตลอดเวลาได้
► เลือกครีมกันแดดที่ปกป้องผิวได้อย่างครอบคลุม (Broad-Spectrum) ซึ่งจะช่วยปกป้องผิวจากรังสียูวีเอและรังสียูวีบีเนื่องจากครีมกันแดดทุกตัวจะช่วยป้องกันรังสียูวีบี ซึ่งเป็นรังสีที่ทำให้ผิวไหม้และเป็นมะเร็งผิวหนัง ครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์ป้องกันแดดอื่น ๆ ที่ป้องกันทั้งรังสียูวีเอและยูวีบีจะได้รับการระบุบนฉลากผลิตภัณฑ์ว่า Broad-Spectrum ส่วนครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดดที่ไม่ได้รับการระบุดังกล่าวจะป้องกันผิวไหม้ แต่ไม่ครอบคลุมการป้องกันมะเร็งผิวหนังและผิวแก่ก่อนวัย
► ควรเลือกครีมกันแดดที่มีค่า SPF 30 หรือมากกว่านั้น โดยค่า SPFจะช่วยบอกระดับการป้องกันผิวจากรังสียูวีบี ครีมกันแดดที่มีค่าดังกล่าวสูงก็จะปกป้องผิวจากแสงแดดได้มาก โดยครีมกันแดดที่มีค่า SPF 15 จะกรองรังสียูวีบีได้ร้อยละ 93 ครีมกันแดดที่มีค่า 30 จะกรองได้ร้อยละ 97 และครีมกันแดดที่มีค่า SPF 50 กรองได้ร้อยละ 98 ส่วนครีมกันแดดที่มีค่า SPFต่ำกว่า 15 สามารถป้องกันผิวไหม้ได้ แต่ไม่ป้องกันมะเร็งผิวหนังหรือผิวแก่กว่าวัย
► เลือกครีมกันแดดที่กันน้ำได้ (Water Resistant) โดยครีมกันแดดชนิดนี้จะช่วยปกป้องผิวจากแสงแดดระหว่างที่ว่ายน้ำหรือเหงื่อออกได้นานประมาณ 40-80 นาที ผู้ใช้ควรทาครีมกันแดดซ้ำอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง หรือมากกว่านั้น
► เด็ก และผู้ที่มีปัญหาผิวหนังหรือเกิดอาการแพ้อื่น ๆ ควรเลือกครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดดที่ผสมไททาเนียมไดออกไซด์ (Titanium Dioxide) หรือซิงก์ออกไซด์ (Zinc Oxide) ซึ่งทำให้เกิดการระคายเคืองได้น้อย เลี่ยงใช้ครีมกันแดดที่ผสมกรดพาราอะมิโนเบนโซอิก (Para-Aminobenzoic Acid: PABA) หรือกรดพาบา หรือผสมเบนโซฟีโนน (Benzephenones) เช่น ไดออกซิเบนโซน (Dioxybenzone) ออกซิเบนโซน (Oxybenzone) หรือซอลลิเบนโซน(Sulisobenzone) รวมทั้งครีมกันแดดที่ผสมแอลกอฮอล์ น้ำหอม และวัตถุกันเสีย
การใช้ครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวจากแสงแดดมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
● ครีมกันแดดช่วยปกป้องผิวจากรังสียูวีเอและรังสียูวีบี ผู้ใช้ครีมกันแดดอย่างสม่ำเสมอจะได้รับประโยชน์ดังกล่าว ซึ่งช่วย:
● ป้องกันความเสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนังได้ง่าย
● ปกป้องผิวไม่ให้ถูกแสงแดดเผาหรือทำลาย
● ช่วยไม่ให้ผิวแก่ก่อนวัย ส่งผลให้ไม่เกิดจุดด่างดำหรือฝ้าบนใบหน้าและผิวหนังส่วนอื่น
● ผู้ใช้ครีมกันแดดอาจได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ครีม ดังนี้
● ลดการผลิตวิตามินดีของผิวหนัง ผู้ใช้ครีมกันแดดอาจรับประทานอาหารที่มีวิตามินดีหรือวิตามินเสริม เพื่อเสริมสร้างวิตามินดีให้ร่างกายอย่างเพียงพอ
● มีคราบครีมกันแดดติดตามเสื้อผ้า เนื่องจากครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์กันแดดบางตัวผสมกรดอะมิโนเบนโซอิก หรือกรดพาราอะมิโนเบนโซอิก
● ผิวแพ้ง่ายขึ้น เกิดการระคายเคือง หรือมีรอยแดงที่ผิว เนื่องจากครีมกันแดดมีส่วนผสมบางตัวที่ทำให้ผิวแพ้สารต่าง ๆได้ง่าย ควรล้างออกและหยุดใช้ รวมทั้งปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร เพื่อเลือกใช้ครีมกันแดดหรือผลิตภัณฑ์ป้องกันแดดตัวอื่นแทน
ทั้งนี้ทั้งนั้น กันแดดทุกตัวในท้องตลาดที่เขียนกันข้างผลิตภัณฑ์ ไม่สามารถปกป้องดดอย่างมีประสิทธิภาพได้ 100% ทุกตัวตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ อาจจะด้วยคุณภาพของตัวสินค้า มาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ รวมถึงวิธีการผลิตในท้องตลาด ก่อนจะเลือกใช้นั้นและควรเลือกสินค้าที่มีมาตรฐานที่ดีที่สุดต่อการดูแลผิวพรรณ ซึ่งจะส่งผลและประสิทธิภาพผิวอีกด้วย
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง