แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome: IBS) มีอาการแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล บางรายท้องผูก บางรายท้องเสียหรือท้องเสียสลับท้องผูก โดยจะมีอาการปวดท้องเป็นอาการเด่นของโรค จึงถือเป็นโรคที่ควรทำความรู้จักและทำความเข้าใจ เพื่อสังเกตตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง ป้องกันการเกิดโรค
มีอาการแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล บางรายท้องผูก บางรายท้องเสียหรือท้องเสียสลับท้องผูก อาจมีอาการปวดท้องเกร็ง ท้องอืด กรดเกิน อาหารไม่ย่อยร่วมด้วยได้ นอกจากนี้อุจจาระอาจมีขนาดเล็กลง เป็นก้อนแข็งขึ้นหรือเป็นก้อนเล็กๆ สั้นๆ เนื่องจากการบีบรัดของลำไส้ใหญ่ หรืออาจมีอาการถ่ายท้องบ่อยขึ้นหรือถ่ายเหลวกว่าปกติ ซึ่งเกิดจากการบีบของลำไส้เช่นกัน ทานยาแล้วไม่หายขาด
☀ ระยะเวลาที่เป็นของอาการต้องต่อเนื่องนานอย่างน้อย 6 เดือน
☀ ต้องมีอาการปวดท้องอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์โดยอาการจะสัมพันธ์กับการขับถ่าย
☀ ต้องไม่มีสัญญาณอันตราย เช่น น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ถ่ายมีมูกเลือดปนกับอุจจาระ ปวดท้องรุนแรงจนรบกวน คลำเจอก้อนแปลกปลอมใต้ผิวหนังบริเวณช่องท้องหรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นต้น
☀ มักเป็นในคนอายุน้อยโดยเฉพาะเพศหญิง
☀ หากอาการมาเริ่มเป็นในผู้สูงอายุหรือมีสัญญาณอันตราย ควรตรวจและปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมก่อนเสมอ
สาเหตุไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด พบว่ามีหลายกลไกที่เกี่ยวข้องได้แก่ การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารผิดปกติ ประสาทรับรู้ความรู้สึกในทางเดินอาหารไวกว่าปกติ การอักเสบของเยื่อบุผิวลำไส้ ความผิดปกติของแบคทีเรียตัวดีในลำไส้ ความผิดปกติของการตอบสนองระหว่างสมองและลำไส้
☀ อาหารบางชนิดเนื่องจากอาหารที่เราบริโภคนั้นมีผลต่อของแบคทีเรียในลำไส้ ฉะนั้นควรหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจก่อให้เกิดความผิดปกติของระบบย่อยอาหารและสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ ประกอบด้วย 4 ประเภทอาหารหลักๆที่ควรงดรับประทานสำหรับผู้ที่มีอาการลำไส้แปรปรวน ที่อาจครอบคลุมถึงอาการท้องอืด แน่นท้องอึดอัดท้อง ท้องผูกสลับท้องเสีย ดังต่อไปนี้
1.อาหารไขมันสูงเนื่องจากอาหารประเภทนี้ย่อยยากและอาจตกค้างอยู่ในกระเพราะและลำไส้นานกว่าอาหารชนิดอื่นก่อให้เกิดการหมักหมม มีแก๊สเยอะ อาจทำให้ท้องอืดท้องเฟ้อและทำให้อาการลำไส้แปรปรวนกำเริบ
2.กาแฟทำให้อาการของโรคลำไส้แปรปรวนมักรุนแรงขึ้น เมื่อดื่มเครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน เนื่องจากสารกาเฟอีนจะทำให้การเคลื่อนที่ของลำไส้ผิดปกติ
3.นมวัวหรือผลิตภัณฑ์จากนม เนื่องจากนมมีไขมันสูงและมีโปรตีนที่เรียกว่า ‘คาเซอีน’ และ ‘แล็กโตโกลบูลิน’ ซึ่งคนไทยในอัตราส่วนค่อนข้างมาก มักมีอาการแพ้และท้องเสีย
4.ช็อกโกแลต แม้จะมีงานวิจัยออกมาว่าการรับประทานช๊อกโกแลตคุณภาพในปริมาณที่พอเหมาะมีประโยชน์ต่อร่างกาย แต่อีกนัยหนึ่ง ช๊อกโกแลตประกอบไปด้วยสาร ‘กาเฟอีน’ และ ‘ทีโอโบรมีน’ ซึ่งทั้ง 2 สารนี้สามารถกวนการทำงานของลำไส้และการเคลื่อนไหวได้
☀ ยาบางชนิด
☀ ความเครียดทั้งกายและใจ
☀ การติดเชื้อในหรือนอกทางเดินอาหาร
☀ รักษาโดยการปรับพฤติกรรมและใช้ยา ซึ่งยาที่ใช้ แบ่งออกเป็น กลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อลำไส้โดยตรงและกลุ่มที่ออกฤทธิ์ปรับการหลั่งของสารสื่อประสาท
☀ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้องค้นหาและมีวิธีจัดการกับความเครียดที่เหมาะสมหรือปรึกษาจิตแพทย์รวมถึงหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้โรคกำเริบ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
☀ รักษาด้วยยาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวด,ยาระบาย (ท้องผูก),ยาหยุดถ่าย (ท้องเสีย)
☀ การใช้ Probiotic ซึ่งเป็นการคืนสมดุลของจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้ มีงานวิจัยที่น่าสนใจในต่างประเทศเพื่อประเมินผลการใช้ Probiotic รักษา ผลปรากฏว่ากลุ่มที่ได้รับ Probiotic มีอาการดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยอาการปวดท้องลดลง การพองตัวของลำไส้ลดลงและมีความสม่ำเสมอในการเคลื่อนตัวของลำไส้มากขึ้น
☀ จุลินทรีย์ดีที่มีประโยชน์ต่อลำไส้ (Probiotic) และอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ดี (Prebiotic) เช่น จุลินทรีย์ในตระกูล Lactobacillus sp. หรือตระกูล Bifidobacterium sp. ซึ่งจะช่วยเกื้อกูลจุลินทรีย์ดีและทำลายเชื้อก่อโรคในลำไส้ ปรับสมดุลลำไส้ลดภาวะท้องผู้กหรือท้องเสียเรื้อรังได้ นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบไปด้วยสาร Inulin Fructooligosaccharides (FOS) และ Xylo-oligosaccharides (XOS) ซึ่งเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์จะช่วยเสริมให้จุลินทรีย์ดีในร่างกายแข็งแรง เนื่องจากพรีไบโอติกเป็นอาหารของจุลินทรีย์ ซึ่งไม่สามารถย่อยได้และไม่ถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหาร ช่วยในการกระตุ้นการทำงานและส่งเสริมการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและทำให้ลดการเกิดอาการลำไส้แปรปรวน
☀ กรดอะมิโน เช่น Arginine ซึ่งมีส่วนช่วยในการซ่อมแซมเยื่อบุผนังลำไส้ที่ได้รับบาดเจ็บ และ Glutamine ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างพลังงานภายในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้ ซึ่งจะช่วยลดการอักเสบของเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้จากความเครียดได้
☀ สังกะสี (Zinc) จากการศึกษาพบว่าสังกะสีสามารถช่วยเพิ่มความแข็งแรงของผนึกระหว่างเซลล์ลำไส้และป้องกันความเสียหายของเยื่อบุผนังลำไส้ได้
☀ ซีลีเนียม (Selenium) และวิตามินอี (Vitamin E) จัดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระในร่างกายที่มีความปลอดภัยสูง การศึกษาพบว่า ซีลีเนียมและวิตามินอีสามารถป้องกันการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการให้สารผ่านเข้าออกผนังลำไส้จากการถูกทำลายจากความเครียดและปฏิกิริยา oxidation ได้
☀ การบีบตัวหรือการเคลื่อนตัวของลำไส้ผิดปกติ ซึ่งเป็นผลมาจากการหลั่งสารหรือฮอร์โมนบางอย่างในผนังลำไส้ผิดปกติ นำไปสู่อาการปวดท้อง ท้องเสียหรือท้องผูก
☀ ระบบประสาทที่ผนังลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า หรือตัวกระตุ้นมากผิดปกติ เช่น หลังกินอาหารซึ่งในคนปกติจะกระตุ้นให้ลำไส้มีการบีบตัวหรือเคลื่อนตัวเพิ่มขึ้นอยู่แล้ว แต่ในผู้ป่วยไอบีเอส จะมีการตอบสนองมากกว่ามากผิดปกติ มีการบีบตัวและการเคลื่อนตัวของลำไส้มากขึ้น จนมีอาการปวดท้องและท้องเสีย หรือท้องผูกเป็นต้น นอกจากอาหารแล้วตัวกระตุ้นอื่นที่สำคัญ คือความเครียดหรือการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ก็มีส่วนเสริมให้มีอาการมากขึ้น
☀ มีความผิดปกติในการควบคุมการทำงานของแกน ที่เชื่อมโยงระหว่างประสาทรับความรู้สึก ระบบกล้ามเนื้อของลำไส้และสมอง (Brain-gut axis) โดยเกิดจากความผิดปกติของสารที่ควบคุมการทำงานซึ่งมีหลายชนิดและทำหน้าที่แตกต่างกัน
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง