แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol) มีโครงสร้างคล้ายคอเลสเตอรอล เป็นสารประกอบที่พบได้ในพืชจำพวก ธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้ง ผักและผลไม้ อธิบายให้เข้าใจง่ายก็คือ สารโครงสร้างคล้ายกันแตกต่างกันที่แหล่งที่มาคือคอเลสเตอรอลมาจากสัตว์ แต่ไฟโตสเตอรอลมาจากพืช ไฟโตสเตอรอลมี 2 รูปแบบคือ สเตอรอล(sterol)และสตานอล(stanol) เนื่องจากโครงสร้างที่คล้ายกันเมื่อเข้าสู่ร่างกาย ไฟโตสเตอรอลจึงแย่งพื้นที่กับคอเลสเตอรอลในการดูดซึมที่ลำไส้เล็ก ทำให้คอเลสเตอรอลที่รับประทานเข้าไปถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดน้อยลง ร่วมกับจับตัวกับคอเลสเตอรอลในน้ำดี ทั้งหมดขับออกไปทางอุจจาระ ทำให้ผลรวมของระดับคลอเลสเตอรอลในกระแสเลือดลดลง
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol) ช่วยลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลในร่างกาย และยังมีงานวิจัยที่กล่าวถึงประโยชน์ของไฟโตสเตอรอลอย่างแพร่หลายเกี่ยวกับการนำไปใช้บำบัดผู้ป่วยที่มีภาวะคอเลสเตอรอลสูง ช่วยลดคอเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL-C) โดยที่ไม่ลดคอเลสเตอรอลที่ดี (HDL-C) ยิ่งไปกว่านั้นไฟโตสเตอรอลยังช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้องอก และช่วยทำลายเซลล์มะเร็งเต้านม รวมทั้งยังสามารถช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งต่อมลูกหมากได้อีกด้วย
แหล่งอาหารที่มีไฟโตสเตอรอล / 100 กรัม
แหล่งอาหารที่มีไฟโตสเตอรอลคือ ธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้ง ผักและผลไม้ แต่การที่จะบริโภคอาหารเหล่านี้ให้ได้ปริมาณไฟโตสเตอรอล 2 ก. เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก จึงมีการเติมไฟโตสเตอรอลเข้าไปในอาหาร เช่น เนยมาการีนบางยี่ห้อ โยเกิร์ตบางตัว หรืออาหารเสริมที่ผ่านการตรวจสอบและรับรองจากองค์การอาหารและยาของอเมริกา(FDA) เพื่อช่วยเสริมทำให้ผู้บริโภคมีโอกาสรับไฟโตสเตอรอลได้ตามปริมาณที่แนะนำ
ไฟโตสเตอรอลลดคอเลสเตอรอลชนิดเลว (LDL) และการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยสเตอรอลและสตานอล จะเข้ายับยั้งการดูดซึม ควบคุมปริมาณการละลายและการย่อยคอเลสเตอรอลในลำไส้ โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ คือ เข้าแข่งขันการดูดซึมกับคอเลสเตอรอล ทำให้คอเลสเตอรอลถูกดูดซึมไม่ได้ จึงใช้เป็นสารลดคอเลสเตอรอล ไฟโตสเตอรอล นิยมผสมลงในอาหาร จะช่วยลดคอเลสเตอรอล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และพบว่าสตานอล มีประสิทธิภาพในการลดคอเลสเตอรอล ดีกว่าสเตอรอล
ปฏิเสธไม่ได้ว่าอาหารในปัจจุบันมีส่วนผสมที่มีไขมันคอเลสเตอรอลแฝงอยู่โดยเฉพาะอาหารมื้ออร่อย ไม่ว่าจะเป็นหมูกระทะ เนื้อติดมัน อาหารทะเล เครื่องในสัตว์ ไข่แดง อาหารฟาสต์ฟู้ด ไอศครีม ขนมเบเกอรี่ สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดภาวะไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ที่บอกว่าเป็นเพียงส่วนหนึ่งนั้นเพราะคอเลสเตอรอลจากอาหารมีผลต่อต่อร่างกาย 20% ส่วนสาเหตุที่เหลือ 80% ที่ทำให้คอเลสเตอรอลในเลือดสูงมาจากการทำงานของตับที่เสื่อมลงตามอายุที่มากขึ้น จะเห็นได้ชัดในคนอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป ทำให้แนวโน้มคนเรามีโอกาสเป็นโรคนี้ได้มากขึ้นในขณะที่อายุเริ่มต้นเป็นก็น้อยลงแม้กระทั่งคนที่ภายนอกดูผอมหุ่นดี
อาจเคยสงสัยที่คนนั้นคนนู้นบอกว่ามีคอเลสเตอรอลในเลือดสูงแต่ก็เห็นเค้าแข็งแรงดี ไม่มีอาการผิดปกติอะไร คนส่วนใหญ่เลยคิดเองว่าคงไม่เป็นอะไร แต่ก็เคยได้ยินข่าวบ่อยๆใช่มั้ยว่าอายุน้อยๆมีอาการเจ็บหน้าอกหัวใจขาดเลือด (อ่านเพิ่มได้ที่ ปัญหาหัวใจ ปัญหาระดับโลก) หรือล้มแขนขาอ่อนแรงไปซีกหนึ่งหรือหน้าเบี้ยวเหมือนแม่พระเอกในละครโทรทัศน์ นั่นก็เพราะภาวะไขมันอุตตันเส้นเลือดเป็นสาเหตุหนึ่งนั่นเอง สิ่งที่คาดเดาไม่ได้ยิ่งกว่าคือการที่ตรวจเลือดพบระดับคอเลสเตอรอลปกติแต่มีอาการได้ เพราะความจริงแล้วผลเลือดที่เครื่องตรวจวัดได้นั้นคือตรวจหาในเลือดแต่ไม่สามารถตรวจการฝังตัวของคอเลสเตอรอลที่ผนังเส้นเลือด(Plaque)ได้ว่าตีบไปมากน้อยเท่าไหร่แล้ว เปรียบกับท่อน้ำจะรับรู้ว่าน้ำไหลช้าลงก็เมื่อท่อน้ำตันไปได้ส่วนหนึ่งแล้ว เหมือนกันกับร่างกายเราจะตระหนักอีกทีก็เมื่อมีอาการแล้ว และนอกจากนั้นไขมันยังไปเกาะตามที่ต่างๆได้ เช่น ไขมันพอกตับ หน้าท้อง ส่งผลเสียต่อเราได้เช่นกัน
แต่อาจพบอาการท้องอืดได้เนื่องจากไฟโตสเตอรอลเป็นเส้นใยธรรมชาติ ที่อยู่ในผนังเซลล์พืช แก้โดยการเริ่มต้นทานทีละน้อย หรือดื่มน้ำตามปริมาณมาก ไม่มีผลต่อการดูดซึมของวิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ ดี อี และวิตามินเค
ผลข้างเคียงของการรับประทานไฟโตสเตอรอลยังไม่มีงานวิจัยที่ระบุไว้ชัดเจน แต่อาจพบอาการท้องอืดได้เนื่องจากไฟโตสเตอรอลเป็นเส้นใยธรรมชาติที่อยู่ในผนังเซลล์พืช แก้โดยการเริ่มต้นทานทีละน้อย หรือดื่มน้ำตามปริมาณมาก ไม่มีผลต่อการดูดซึมของวิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ ดี อี และวิตามินเค อย่างไรก็ตามก่อนการรับประทาน ควรปรึกษาหรือขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะผู้ป่วยที่เคยมีภาวะลำไส้อุดตันและมียาที่รับประทานเป็นประจำ
การรับประทานยาเคมีลดไขมันไปตลอดไม่เป็นผลดีแน่ ไฟโตสเตอรอลเส้นใยอาหารจากธรรมชาติจึงเป็นการแพทย์ทางเลือกที่คนทั่วโลกหันมาทานกันมากขึ้น อย่างน้อยก็ช่วยลดผลเสียที่เกิดจากการทานยาเป็นประจำได้
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง