อุปกรณ์ดูแลเท้า แผ่นรองส้นเท้าลดแรงกระแทก และเพิ่มความนุ่มสบาย เหมาะสำหรับคนที่ต้องเดินหรือยืนเป็นเวลานาน และยังช่วยบรรเทาปัญหารองช้ำส้นเท้า เพราะการเดินหรือยืนเป็นเวลานาน ทำให้เกิดอาการเมื่อยล้า ปวดส้นเท้าได้ง่ายเมื่อเท้าได้รับแรงกระแทกบ่อยครั้งในแต่ละวัน ในการทำกิจกรรมระหว่างวัน เท้าแบนสังเกตุได้จาก ถ้าฝ่าเท้าของเราแบนราบลงไปแนบกับพื้นเลย ไม่มีอุ้งเท้าให้โค้งเว้า แสดงว่าเป็นโรคเท้าแบน ซึ่งจะพบได้ในเด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ กระดูกผิดปกติ แต่ที่พบบ่อยที่สุดก็คือ ผู้สูงอายุ ที่เราจะพบกับโรคเท้าแบนนี้ได้เป็นจำนวนมากกว่ากลุ่มผู้ป่วยรายอื่นๆ เริ่มมีการเดินแล้วเจ็บเท้าสาเหตุของโรคเท้าแบน จะสามารถเกิดได้จากหลายอย่างเช่น กรรมพันธุ์ ปัญหาด้านกระดูก ความหย่อนยานของเส้นเอ็น เส้นเอ็นอักเสบ หรือกลุ่มคนที่ต้องวิ่งมาก เดินมาก จะทำให้เท้าเริ่มแบนลง ซึ่งจะเกิดอาการตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น และสะสมมาจนเริ่มสูงอายุ
วิธีดูแลตัวเองจากโรคเท้าแบน – เลือกรองเท้าสุขภาพที่มีพื้นที่นุ่ม ดี เบา เลือกแผ่นรองเท้าที่กระจายน้ำหนักได้ดี – เลือกรองเท้าสุขภาพที่มีพื้นที่มีการเสริมอุ้งเท้า หรือหนุนอุ้งเท้า ให้เท้ามีการดันทรง รองฝ่าเท้า – ยืดและนวดเอ็นร้อยหวาย เพื่อเป็นการกายภาพให้สุขภาพเท้าดีขึ้น – ใช้แผ่นยางเทอราแบนด์เพื่อดึงเท้า เพื่อบริหารเส้นเอ็น สร้างความแข็งแรง หากรักษาโรคเท้าแบนแล้วยังไม่ดีขึ้นก็จะต้องทำการผ่าตัดเพื่อแก้ไขเรื่องกระดูกและเส้นเอ็น ไม่อย่างนั้นปล่อยทิ้งไว้นานๆ จะรู้สึกปวด ทรมาณ และอาจจะต่อเนื่องด้วยโรคอื่นๆ แทรกซ้อนอีกเช่น เท้าแบนสังเกตุได้จากถ้าฝ่าเท้าของเราแบนราบลงไปแนบกับพื้นเลย ไม่มีอุ้งเท้าให้โค้งเว้า แสดงว่าเป็นโรคเท้าแบน ซึ่งจะพบได้ในเด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ กระดูกผิดปกติ แต่ที่พบบ่อยที่สุดก็คือ ผู้สูงอายุ ที่เราจะพบกับโรคเท้าแบนนี้ได้เป็นจำนวนมากกว่ากลุ่มผู้ป่วยรายอื่นๆ เริ่มมีการเดินแล้วเจ็บเท้า
จะสามารถเกิดได้จากหลายอย่างเช่น กรรมพันธุ์ ปัญหาด้านกระดูก ความหย่อนยานของเส้นเอ็น เส้นเอ็นอักเสบ หรือกลุ่มคนที่ต้องวิ่งมาก เดินมาก จะทำให้เท้าเริ่มแบนลง ซึ่งจะเกิดอาการตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น และสะสมมาจนเริ่มสูงอายุ
หากรักษาโรคเท้าแบนแล้วยังไม่ดีขึ้นก็จะต้องทำการผ่าตัดเพื่อแก้ไขเรื่องกระดูกและเส้นเอ็น ไม่อย่างนั้นปล่อยทิ้งไว้นานๆ จะรู้สึกปวด ทรมาณ และอาจจะต่อเนื่องด้วยโรคอื่นๆ แทรกซ้อนอีกเช่น ข้อเสื่อม
รองเท้าเพื่อสุขภาพ ดีอย่างไรประโยชน์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับรองเท้าเพื่อสุขภาพให้ฟังขออธิบายเปรีบเทียบระหว่างรองเท้าทั่วไป กับ รองเท้าเพื่อสุขภาพ ซึ่งทั้งสองแบบนั้นจะมีข้อแตกต่างกันอย่างไร เราตามมาดูพร้อมๆ กันเลยครับ รองเท้าสุขภาพกับรองเท้าทั่วไป ในหัวข้อของรองเท้าทั่วไปนั้น หมอขอนับรองเท้าหลายๆ ประเภทให้จัดอยู่ในหมวดรองเท้าทั่วไปครับ ไม่ว่าจะเป็นรองเท้าคัชชู รองเท้าส้นสูง หรือรองเท้าแตะ รองเท้าเหล่านี้ส่วนใหญ่จะถูกออกแบบมาเพื่อเน้นความสวยงามภายนอกเป็นหลัก โดยขาดการดีไซน์เพื่อความสบายเท้าครับ โดยเฉพาะรองเท้าแฟชั่นของสาวๆ ที่เป็นหัวแหลม หัวตัด บางครั้งรูปทรงเหล่านี้ อาจทำให้บีบรัดหน้าเท้าจนเกินไป เมื่อเราใส่เป็นเวลานานจะทำให้เกิดอาการปวดเท้าตามมาครับ รวมไปถึงผู้ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการใส่รองเท้าส้นสูงเป็นเวลานานได้ ก็มักจะพบกับปัญหาเรื่องเอ็นร้อยหวายปวดตึงอยู่เสมอๆ ครับ จะเห็นได้เลยครับว่า “รองเท้า” มีผลต่อสุขภาพของเราเป็นอย่างมาก รองเท้าเพื่อสุขภาพ รองเท้าเพื่อสุขภาพคือรองเท้าที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อซัพพอร์ตเท้าโดยเฉพาะ ทั้งยังสามารถซับแรงกระแทรกที่เกิดจากการเดินได้เป็นอย่างดีด้วยครับ โดยรองเท้าสุขภาพที่ดีนั้นจะเป็นรองเท้าที่มีน้ำหนักเบา ขนาดพอดีกระชับเท้า วัสดุของรองเท้ามีความยืดหยุ่นสูง พื้นรองเท้ามีความนุ่มสบาย ช่วยตัวกระจายน้ำหนักของเท้า และที่สำคัญที่สุดคือเป็นรองเท้าที่มีรูปทรงรองรับอุ้งเท้า เพราะจะช่วยให้ไม่เกิดอาการรองช้ำ และอาการปวดของฝ่าเท้าครับ ซึ่งการเลือกสวมใส่รองเท้าสุขภาพที่ดียังถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยดูแลข้อเข่าของเราให้มีอายุการใช้งานที่นานขึ้นอีกด้วยครับ ใครที่อยากดูแลสุขภาพเท้า อย่าลืมหารองเท้าสุขภาพสักคู่มาสวมใส่เป็นประจำทุกวันเพื่อสุขภาพเท้าที่ดีกันนะครับ
โรครองช้ำเป็นโรคเกี่ยวพังผืดใต้เท้าอักเสบ ส่วนใหญ่จะเป็นกับผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป กับผู้ที่ใช้ชีวิตประจำวันด้วยการเดิน ยืน เป็นเวลานานๆ อาการโรครองช้ำ ปวดใต้ฝ่าเท้า ไปจนถึงปลายนิ้วเท้า ซึ่งอาการเหล่านี้จะสังเกตุได้ง่ายๆ คือ ตอนที่ลุกขึ้นเดินตอนเช้าในช่วงแรกๆ เดินแล้วรู้สึกเจ็บแปลบที่เท้าและเดินไปสักพักหาย และอาจจะเกิดขึ้นได้อีกตอนช่วงเย็นๆ ท่านใดที่มีอาการเหล่านี้ ถือว่ามีความเสี่ยงที่จะเป็นโรครองช้ำกันครับ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรครองช้ำ – ผู้ที่มีน้ำหนักมาก เท้ารองรับน้ำหนักตัวไม่ไหว – ผู้ที่มีรูปทรงเท้าผิดปกติ เกี่ยวกับอุ้งเท้า อุ้งเท้าไม่เต็ม – ผู้ที่มีกิจกรรมของแต่ละบุคคล เช่น เดินมาก วิ่งมาก ยืนนานๆ – ใช้รองเท้าไม่ถูกต้อง ควรเลือกรองเท้าสุขภาพ และพื้นรองเท้าที่หนานุ่มกว่าปกติ และเสริมเติมเต็มให้ฝ่าเท้าที่มีปัญหาเต็มฝ่าเท้า และสูงขึ้นกว่าปกติ เพื่อสุขภาพเท้าที่ดี วิธีรักษาโรครองช้ำ – ต้องทำการตรวจสุขภาพเท้าก่อน เพื่อวัดผลว่าเป็นแบบอักเสบแบบรุนแรง หรือแบบทั่วไป และต้องระมัดระวังเรื่องของการรับประทานยาแก้อักเสบ เพราะมีผลต่อผู้รับประทาน –โรครองช้ำ
ปวดใต้ฝ่าเท้า ไปจนถึงปลายนิ้วเท้า ซึ่งอาการเหล่านี้จะสังเกตุได้ง่ายๆ คือ ตอนที่ลุกขึ้นเดินตอนเช้าในช่วงแรกๆ เดินแล้วรู้สึกเจ็บแปลบที่เท้าและเดินไปสักพักหาย และอาจจะเกิดขึ้นได้อีกตอนช่วงเย็นๆ ท่านใดที่มีอาการเหล่านี้ ถือว่ามีความเสี่ยงที่จะเป็นโรครองช้ำกันครับ
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรครองช้ำ
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่มีน้ำหนักมาก เท้ารองรับน้ำหนักตัวไม่ไหว
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่มีรูปทรงเท้าผิดปกติ เกี่ยวกับอุ้งเท้า อุ้งเท้าไม่เต็ม
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่มีกิจกรรมของแต่ละบุคคล เช่น เดินมาก วิ่งมาก ยืนนานๆ
ʕ·ᴥ·ʔ ใช้รองเท้าไม่ถูกต้อง ควรเลือกรองเท้าสุขภาพ และพื้นรองเท้าที่หนานุ่มกว่าปกติ และเสริมเติมเต็มให้ฝ่าเท้าที่มีปัญหาเต็มฝ่าเท้า และสูงขึ้นกว่าปกติ เพื่อสุขภาพเท้าที่ดี
วิธีรักษาโรครองช้ำ
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง