แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
วิตามินเค ( วิตามิน K, Vitamin K ) มีชื่อภาษาอังกฤษ คือ Koagulation Vitamin, Antihemorrhagic Factor หรือ เมนาไดโอน ( Menadione ) เป็นวิตามินสำคัญที่ช่วยในกระบวนการแข็งตัวของเลือด ป้องกันภาวะเลือดไหลมากจนเกินไป ร่างกายสังเคราะห์วิตามิน เค ขึ้นมาได้เอง และยังได้รับวิตามิน เค จากการรับประทานอาหารบางชนิด ในบางกรณี หากมีความจำเป็น แพทย์อาจต้องให้วิตามิน เค แก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การฉีดวิตามิน เค ถือเป็นมาตรฐานปฏิบัติในเด็กทารกแรกเกิด หรืออาจให้วิตามิน เค รักษาอาการข้างเคียงในผู้ที่ใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดมากเกินขนาด รักษาผู้ป่วยมะเร็ง รักษาอาการแพ้ท้อง และรักษาอาการเกี่ยวกับเส้นเลือดฝอยที่ผิวหนัง เป็นต้น
แหล่งที่พบวิตามินเคตามธรรมชาติ ได้แก่ ไข่แดง ผักใบเขียว นม เนย หญ้าอัลฟัลฟา สาหร่ายเคลป์ น้ำมันมะกอก น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันตับปลา เป็นต้น นอกจากนี้วิตามินเคสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้เองจากในร่างกายมนุษย์ และสามารถพบวิตามินเคได้จาก ในอาหารที่เราทานเข้าไปในชีวิตประจำวันอยู่แล้ว
ʕ·ᴥ·ʔ ช่วยสร้างความแข็งแรงให้กระดูก โดยวิตามินเค จะไปช่วยช่วยการสร้างออสทิโอแคลซิน ( Osteocalcin ) ซึ่งเป็นโปรตีนที่ช่วยสร้างความแข็งแรงให้กระดูก
ʕ·ᴥ·ʔ ช่วยในกระบวนการทำงานของตับ วิตามินเค เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อร่างกายที่ช่วยในกระบวนการทำงานของตับให้เป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพ
ʕ·ᴥ·ʔ ช่วยบรรเทาอาการประจำเดือนมามากกว่าปกติ วิตามินเคยังช่วยทำให้ระบบประจำเดือนในผู้หญิงมาเป็นปกติ ช่วยลดปัญหาประจำเดือนมามากกว่าปกติ
ʕ·ᴥ·ʔ ช่วยในกระบวนการ ฟอสโฟริเลชั่น ( Phosphorylation ) ในร่างกาย ซึ่งวิตามินเคจะเป็นส่วนที่ทำให้ ฟอสเฟต จะร่วมกับ กลูโคส และถูกผ่านเข้าไปในผนังเซลล์และเปลี่ยนเป็นไกลโคเจน เพื่อนำไปใช้งานต่อไป
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่มีโรคประจำตัวเกี่ยวข้องกับการดูดซึมสารอาหารในระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคแพ้กลูเตน และโรคโครห์น
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่ใช้ยารักษาซึ่งอาจรบกวนกระบวนการดูดซึมวิตามิน เค เข้าสู่ร่างกายได้
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก
ʕ·ᴥ·ʔ ผู้ที่มีภาวะทุพโภชนาการ
วิตามินเค มีคุณสมบัติเฉพาะตัวคือเป็นน้ำมันที่มีสีเหลือง ปกติจะละลายได้เฉพาะในไขมันเท่านั้น ยกเว้น วิตามินเค 3 ที่สามารถละลายในน้ำได้ด้วย วิตามินเคเป็นวิตามินที่มีความคงทนต่อสภาวะความเป็นกรดได้ แต่จะไม่ทนต่อกรดแก่ หรือ ด่างที่ผสมแอลกอฮอล์ แสงอัลตราไวโอเลตและสารเติมออกซิเจน ดังนั้นหากจะต้องการเก็บรักษาวิตามินเค ไม่เสื่อมสภาพจะต้องเก็บในขวดสีน้ำตาลที่มีความทึบแสงเท่านั้น สำหรับวิตามินเค ประเภท Menadione จะมีลักษณะคล้ายผลึกเป็นสีเหลือง จะละลายได้ทั้ง ในน้ำและไขมัน แต่จะน้ำหนักน้อยกว่าวิตามินเคที่พบในธรรมชาติ
หลังจากมีการทานอาหารต่างๆเข้าไปแล้ว วิตามินเคที่ได้จากอาหารจะถูกดูดซึมโดยลำไส้เล็กตอนบน โดยจะใช้น้ำดีและน้ำย่อยจากตับอ่อนมาช่วยในกระบวนการนี้ หลังจากนั้นจะถูกส่งต่อไปยังอวัยวะต่างๆ ที่จำเป็นในการสังเคราะห์โปรธรอมบิน และโปรตีนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด
ในส่วนของวิตามินเค ชนิดที่ได้จากการสังเคราะห์ โดยแบคทีเรียในลำไส้ที่อาศัยอยู่ในร่างกาย หรือวิตามินเค 2 จะมีบางส่วนที่จะทำการดูดซึมที่ลำไส้เล็กตอนปลาย สำหรับวิตามินเค ประเภทเมนาไดโอน ( Menadione ) หรือวิตามินเค 3 ที่มีคุณสมบัติสามารถละลายในน้ำได้ จึงไม่จำเป็นต้องอาศัยน้ำดีและน้ำย่อยจากตับอ่อนมาช่วยในการย่อยและดูดซึม
นอกจากวิตามินเคจะมีประโยชน์แล้วก็ยังทำให้เกิดโทษได้ถ้าได้รับในปริมาณที่น้อยหรือมากเกิดไปตามความต้องการของร่างกาย
1. ผลกระทบหากได้รับวิตามินเคน้อยเกินไป
โดยส่วนมากการขาดวิตามินเค จะไม่ค่อยเกิดในวัยผู้ใหญ่ เนื่องจากวิตามินเค กว่าร้อยละ 50 สามารถสังเคราะห์ได้จากแบคทีเรียในร่างกายอยู่แล้ว แต่อาจจะเกิดได้กับผู้ที่มีอาการอุดตันของทางเดินน้ำดี ซึ่งจะส่งผลให้การย่อยและการดูดซึมไขมันทำได้ไม่ดีเหมือนปกติ นอกจากนี้ยังพบในผู้ที่ใช้ยาปฏิชีวนะเป็นประจำ ซึ่งจะมีผลไปทำลายแบคทีเรียที่สังเคราะห์วิตามินเคในลำไส้ ทำให้ไม่สามารถผลิตวิตามินเคได้ตามปกติ ภาวะนี้ยังเกิดได้ง่ายกับเด็กแรกเกิด เนื่องจากเด็กแรกเกิด ยังมีปริมาณไขมันในระดับต่ำ และเชื้อโรคที่ลำไส้ของเด็กทารก ยังไม่มี จึงไม่สามารถสังเคราะห์วิตามินเคได้เอง จึงต้องอาศัยวิตามินเคจากน้ำนมแม่อย่างเดียว สำหรับผู้ที่ปัญหาการขาดวิตามินเค จะมีอาการดังต่อไปนี้
✿ ทำให้การแข็งตัวของเลือดเกิดขึ้นช้ากว่าปกติเนื่องจากระดับของ โปรธรอมบิน และโปรตีนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือดในพลาสมาต่ำ
✿ มีการตกเลือด หรือเลือดออกภายใน เช่น ในลำไส้เล็ก เลือดออกมากับปัสสาวะ เป็นต้น
2. ผลกระทบหากได้รับวิตามินเคมากเกินไป
แม้วิตามินเคจะมีประโยชน์ต่อร่างกาย แต่หากร่างกายได้รับปริมาณวิตามินเคที่มากจนเกินไป ก็อาจเป็นอันตรายต่อร่างกายได้เช่นกัน อาการของคนที่ทานวิตามินเคเข้าไปมากเกินพอดี จะมีดังต่อไปนี้
✿ มีอาการตัวเหลือง
✿ มีภาวะโลหิตจาง
✿ ร่างกายจะมีการกำจัดของเสียหรือมีการกระตุ้นสารต้านอนุมูลอิสระออกมาในปริมาณที่ต่ำ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย
✿ ในผู้ที่ตั้งครรภ์ ถ้าได้รับขนาดวิตามินเคที่สูงเกินไป จะทำให้เกิดโรคดีซ่านในเด็กแรกคลอด
สินค้าที่เกี่ยวข้อง
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง